Show simple item record

Treatment of Anti-Interferon-Gamma Autoantibody Associated Acquired Immunodeficiency Syndrome with Bortezomib : Pilot study

dc.contributor.authorณสิกาญจน์ อังคเศกวินัยth_TH
dc.contributor.authorNasikarn Angkasekwinaith_TH
dc.contributor.authorยุพิน ศุพุทธมงคลth_TH
dc.contributor.authorYupin Suputtamongkolth_TH
dc.contributor.authorมานพ พิทักษ์ภากรth_TH
dc.contributor.authorManop Pithukpakornth_TH
dc.contributor.authorวันรัชดา คัชมาตย์th_TH
dc.contributor.authorWanruchada Katchamartth_TH
dc.contributor.authorเอกพันธ์ ครุพงศ์th_TH
dc.contributor.authorEkkapun Karuphongth_TH
dc.contributor.authorภาคภูมิ พุ่มพวงth_TH
dc.contributor.authorPakpoom Phoompoungth_TH
dc.contributor.authorณัฐวัฒน์ อ่อนลมูลth_TH
dc.contributor.authorNattawat Onlamoonth_TH
dc.contributor.authorพรพิมล อังคเศกวินัยth_TH
dc.contributor.authorPornpimon Angkasekwinaith_TH
dc.date.accessioned2020-05-07T02:37:20Z
dc.date.available2020-05-07T02:37:20Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.otherhs2557
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5203
dc.description.abstractปัจจุบันพบการติดเชื้อมัยโคแบคทีเรียที่ไม่ใช่วัณโรค (Non-Tuberculous Mycobacteria) และเชื้อฉวยโอกาสชนิดแพร่กระจายในผู้ป่วยที่มีการสร้างออโตแอนติบอดี้ต่ออินเตอร์เฟอรอนแกมม่าในระดับสูงเพิ่มมากขึ้น โดยยังไม่มีการรักษาที่จำเพาะต่อภาวะนี้ การให้ยากดภูมิคุ้มกันร่างกายเพื่อลดการสร้างออโตแอนติบอดี้เป็นการรักษาหลักในผู้ป่วยกลุ่มออโตอิมมูนหลายชนิด ทางคณะผู้วิจัยจึงมีเป้าหมายในการศึกษาประสิทธิภาพของยาบอร์ทีโซมิบ (Bortezomib) ในการลดระดับออโตแอนติบอดี้ต่ออินเตอร์เฟอรอนแกมม่า การศึกษานี้เป็นการศึกษานำร่อง Pre และ Post-Intervention Study ในผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องที่เกิดจากออโตแอนติบอดี้ต่ออินเตอร์เฟอรอนแกมม่ารวม 5 ราย โดยดำเนินการศึกษาวิจัยที่ โรงพยาบาลศิริราช เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการให้ยาบอร์ทีโซมิบ ขนาด 1.3 มก./เมตร ของพื้นที่ผิวร่างกาย สัปดาห์ละครั้งรวม 8 ครั้ง และให้ไซโคลฟอสฟาไมด์ (Cyclophosphamide) ในขนาดต่ำ 1 มก./กก./วัน ต่อเนื่องหลังจากให้บอร์ทีโซมิบครบอีก 4 เดือน โดยศึกษาการลดระดับแอนติบอดี้ที่ 8 และ 48 สัปดาห์หลังได้รับยาเปรียบเทียบกับก่อนได้รับยา ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น รวมถึงประเมินลักษณะทางคลินิกของโรค การป้องกันการติดเชื้อซ้ำจนถึง 72 สัปดาห์หลังเริ่มยาและติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่นๆ เช่น ค่าเม็ดเลือดขาวและระดับ C-Reactive Protein (CRP) หรือ Erythrocyte Sedimentation Rate (ESR) เพื่อช่วยประเมินการกำเริบของโรค ผลการศึกษาพบว่าผู้ป่วย 5 ราย มีอายุเฉลี่ย 46 ปี (ตั้งแต่ 34-53 ปี) เป็นเพศชาย 2 ราย มีการติดเชื้อฉวยโอกาสประมาณ 3-5 ชนิด ก่อนเข้าร่วมโครงการวิจัย หลังได้รับยาบอร์ทีโซมิบ พบว่าผู้ป่วยทั้ง 5 ราย มีระดับแอนติบอดี้เฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ 8 สัปดาห์ (3.73 ± 0.72) และ 48 สัปดาห์ (3.74 ± 0.53) ไม่ต่างจากระดับก่อนได้รับยา (3.84 ± 0.49) อย่างมีนัยสำคัญ (p=0.336 และ p=0.555, ตามลำดับ) แม้พบว่าผู้ป่วยไม่มีการติดเชื้อซ้ำในช่วง 6 เดือนแรกของการได้ยา แต่มีการติดเชื้อซ้ำหลังจากนั้น 4 ใน 5 ราย โดยพบการติดเชื้อ 10 ครั้งใน 4 ราย เฉลี่ย 2.5 ครั้งต่อคน ในระยะเวลา 72 สัปดาห์ โดยพบว่าเกิดจากการติดเชื้อ M.Abscessus บ่อยที่สุด (6 ครั้ง) นอกจากนั้นพบการติดเชื้อรา Talaromyces Marneffei รวม 3 ครั้ง ในผู้ป่วย 3 ราย ที่ราว 1 ปีหลังได้รับยาบอร์ทีโซมิบ โดยสรุปการให้ยา Bortezomib ไม่สามารถลดระดับออโตแอนติบอดี้ต่ออินเตอร์เฟอรอนแกมม่าได้ แม้ไม่พบการติดเชื้อซ้ำในช่วง 6 เดือนแรก แต่ไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อซ้ำในระยะยาวได้และอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อรา T. Marneffei ในระยะยาว ดังนั้น ควรต้องมีการติดตามประเมินอาการทางคลินิกทั้งการติดเชื้อซ้ำซ้อนและความปลอดภัยในระยะยาวจากการให้ยากดภูมิต้านทานและควรมีการศึกษาเพิ่มเติมถึงชนิดและสูตรของการให้ยาที่เหมาะสมในการรักษาผู้ป่วยที่มีการสร้างออโตแอนติบอดี้ต่ออินเตอร์เฟอรอนแกมม่าth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectBortezomibth_TH
dc.subjectMycobacteriath_TH
dc.subjectภูมิคุ้มกันบกพร่องth_TH
dc.subjectกลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม--ผู้ป่วยth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการรักษาภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องชนิดที่เกิดจากแอนติบอดี้ต่ออินเตอร์เฟอรอนแกมม่าด้วยบอร์ทีโซมิบ : การศึกษานำร่องth_TH
dc.title.alternativeTreatment of Anti-Interferon-Gamma Autoantibody Associated Acquired Immunodeficiency Syndrome with Bortezomib : Pilot studyth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeBackground: Adult-onset immunodeficiency syndrome (AOIS) due to anti-interferon-gamma (IFN-ϒ) autoantibodies has emerged in otherwise immunocompetent adults. Currently there is no specific treatment for the diseases. Immunosuppressive agents to inhbit antibody production are the mainstay treatment of several autoimmune diseases. This study aims to evaluate the effectiveness of bortezomib in decreasing level of autoantibodies (Abs) in patients with anti-IFN-ϒ auto-Abs. Methods: A pilot pre-and postintervention study of patients with anti-IFN-ϒ auto-Abs was conducted between February 2017 and June 2019 at Faculty of Medicine Siriraj Hospital. Five patients with high titer of anti-IFN-ϒ auto-Abs were selected to receive bortezomib at the dose of 1.3 mg/m2 body surface area (BSA) once weekly for a total of 8 weeks and cyclophosphamide at the dose of 1 mg/kg/day for the following 4 months. The primary outcome was the difference of autoanibody level at 8 and 48 weeks compared to baseline and any adverse event occurred during the study period. The clinical characteristics, the number of opportunistic infections (OIs) within 72 weeks of study enrollment and the inflammatory biomarker such as C-reactive protein or erythrocyte sedimentation rate were also evaluated. Results: A total 5 patients were enrolled, of which the median age was 46 years (34-53 years) and 2 patients were male. All patients had 3-5 OIs before enrollment. There was no significant difference in the mean (+SD) optical density (OD) values of autoantibody at 8 weeks (3.73 + 0.72) and 48 weeks (3.74 + 0.53) compared to baseline (3.84 + 0.49) (p=0.336 and p=0.555, respectively). No recurrence of infection was observed in the first 6 months. However, during the 72 weeks of follow-up, 4 of 5 cases had a total of 10 recurrent OIs of which Mycobacterium abscessus was the most common. Infection with Talaromyces marneffei was observed in 3 patients at approximately 1 year after bortezomib administration. Conclusions: Bortezomib appears unable to reduce autoantibody in patients with anti-IFN-ϒ auto-Abs. Although no recurrent infection was observed within the first 6 months during the study medication, recurrent OIs were observed thereafter. Bortezomib seems to increase risk of infection with T. marneffei. Long term follow-up should be considered in patients with anti-IFN-ϒ auto-Abs who received immunosuppressive agents.th_TH
dc.identifier.callnoWC503.2 ณ259ก 2563
dc.identifier.contactno61-049
.custom.citationณสิกาญจน์ อังคเศกวินัย, Nasikarn Angkasekwinai, ยุพิน ศุพุทธมงคล, Yupin Suputtamongkol, มานพ พิทักษ์ภากร, Manop Pithukpakorn, วันรัชดา คัชมาตย์, Wanruchada Katchamart, เอกพันธ์ ครุพงศ์, Ekkapun Karuphong, ภาคภูมิ พุ่มพวง, Pakpoom Phoompoung, ณัฐวัฒน์ อ่อนลมูล, Nattawat Onlamoon, พรพิมล อังคเศกวินัย and Pornpimon Angkasekwinai. "การรักษาภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องชนิดที่เกิดจากแอนติบอดี้ต่ออินเตอร์เฟอรอนแกมม่าด้วยบอร์ทีโซมิบ : การศึกษานำร่อง." 2563. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5203">http://hdl.handle.net/11228/5203</a>.
.custom.total_download18
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year1

Fulltext
Icon
Name: hs2557.pdf
Size: 2.739Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record