Show simple item record

Policy recommendations on health workforce planning for the future aged society

dc.contributor.authorนงลักษณ์ พะไกยะth_TH
dc.contributor.authorNonglak Pagaiyath_TH
dc.contributor.authorศิริพันธุ์ สาสัตย์th_TH
dc.contributor.authorSiriphan Sasatth_TH
dc.contributor.authorวาสินี วิเศษฤทธิ์th_TH
dc.contributor.authorWasinee Wisestrithth_TH
dc.date.accessioned2020-12-07T06:07:16Z
dc.date.available2020-12-07T06:07:16Z
dc.date.issued2563-09
dc.identifier.otherhs2615
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5280
dc.description.abstractการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ประชากรสูงอายุในสังคมไทย ประกอบกับปัญหาโรคเรื้อรังจะส่งผลทำให้ผู้สูงอายุอยู่ในภาวะพึ่งพาและต้องการการดูแลมีจำนวนมากขึ้น การจัดระบบบริการการดูแลระยะยาวเพื่อสามารถให้บริการที่ครอบคลุมทุกมิติด้านสุขภาพและสังคม จำเป็นที่จะต้องมีการเตรียมความพร้อมกำลังคนให้มีความเพียงพอ และเหมาะสมทั้งในด้าน จำนวน การกระจาย ทักษะ และแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพและกำลังคนรองรับ และพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการบริหารจัดการกำลังคนรองรับระบบการดูแลระยะยาว การศึกษานี้ใช้ข้อมูลทุติยภูมิและข้อมูลจากการสำรวจ กลุ่มตัวอย่างการสำรวจ ได้แก่ สถานบริการ จำนวน 51 แห่ง กำลังคนด้านสุขภาพปฏิบัติงานที่สถานบริการ จำนวน 337 คน กลุ่มตัวอย่างในการดูแลระยะยาวที่บ้านและชุมชน ได้แก่ ผู้จัดการบริการ (Care manager-CM) จำนวน 130 คน นักบริบาล จำนวน 271 คน และมีการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 42 คน จากการศึกษาพบว่าในอนาคต ปี พ.ศ. 2569 นั้นวิชาชีพส่วนใหญ่จะมีความเพียงพอในด้านจำนวน ยกเว้น พยาบาลวิชาชีพและนักสังคมสงเคราะห์ หรือผู้ปฏิบัติหน้าที่ฐานะผู้จัดการบริการ (Care manager) ซึ่งมีความขาดแคลนในด้านจำนวน นอกจากนั้นยังมีปัญหากำลังคนด้านสุขภาพอื่นๆ ได้แก่ ปัญหาการกระจาย ซึ่งพบว่ามีกำลังคนด้านวิชาชีพที่กระจายมาดูแลงานด้านการดูแลระยะยาวน้อย ปัญหาทักษะการปฏิบัติงานในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มนักบริบาล ปัญหาแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน เป็นปัญหาค่อนข้างมากสำหรับนักบริบาลที่ปฏิบัติงานในสถาบัน ซึ่งพบว่ามีอัตราการลาออกจากงานสูง การที่จะทำให้กำลังคนมีความพอเพียงทั้งด้านปริมาณและคุณภาพนั้น ระบบการดูแลระยะยาวควรจะเตรียมพร้อมในด้านนโยบายและการปฏิบัติ โดยเพิ่มการผลิตกำลังคนระดับวิชาชีพทั้งด้านจำนวนและทักษะเข้าไปในระบบสุขภาพมากขึ้น ผลิตนักบริบาลที่มีคุณภาพเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ สร้างแรงดึงดูดและจูงใจให้กำลังคนด้านสุขภาพอยู่ในระบบเพื่อลดการสูญเสียและธำรงกำลังคนอยู่ในระบบth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectกำลังคนด้านสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--การดูแลระยะยาวth_TH
dc.subjectกำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce)th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการจัดการกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุในอนาคตth_TH
dc.title.alternativePolicy recommendations on health workforce planning for the future aged societyth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThe increase of older persons accompanying with increasing chronic diseases resulted in high demand for long term care services. To meet the needs of dependent elderly, integration between social care and health cares are needed and that health workforce should be adequate in term of number, distribution, skill, and motivation. This study thus aimed to forecast health workforce requirements and supply as well as develop policy recommendations to address health workforce challenges for long term care services. Secondary data and primary data from surveys and in-depth interview were used. Sample size for self-administered questionnaires comprised 51 representatives and 331 health workforce from long term care facilities, 130 care managers, and 271 care givers. In additional, 42 concerned stakeholders were interviewed. The results showed that, in term of number, the requirements of health professional and care givers are likely to meet the supply in 2026, except those of nurses, social workers and care managers. Other health workforce challenges concerned with distribution, skill and motivation. Health workforce were poorly distributed to long term care and primary care services, skills to look after long term care were inadequate especially those of care givers, and turnover rate of care givers were high particularly at institutional care. To address health workforce challenges for the long- term care services, Thailand should increase the production of health workforce professional and care givers in relation to number and skills. In additional, increase motivation in order to retain them in the system is in need.th_TH
dc.identifier.callnoW76 น148ก 2563
dc.identifier.contactno63-046
.custom.citationนงลักษณ์ พะไกยะ, Nonglak Pagaiya, ศิริพันธุ์ สาสัตย์, Siriphan Sasat, วาสินี วิเศษฤทธิ์ and Wasinee Wisestrith. "การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการจัดการกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุในอนาคต." 2563. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5280">http://hdl.handle.net/11228/5280</a>.
.custom.total_download700
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year6
.custom.downloaded_fiscal_year34

Fulltext
Icon
Name: hs2615.pdf
Size: 7.872Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record