แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การพัฒนากระบวนการและฐานข้อมูล ระบบเฝ้าระวังโรคติดเชื้อโควิด-19 สำหรับกลุ่มประชากรไทยข้ามพรมแดน ในเขตสุขภาพที่ 12

dc.contributor.authorพลเทพ วิจิตรคุณากรth_TH
dc.contributor.authorPolathep Vichitkunakornth_TH
dc.contributor.authorชนนท์ กองกมลth_TH
dc.contributor.authorChanon Kongkamolth_TH
dc.contributor.authorธรรมสินธ์ อิงวิยะth_TH
dc.contributor.authorThammasin Ingviyath_TH
dc.contributor.authorสิทธิโชค ไชยชูลีth_TH
dc.contributor.authorSitthichok Chaichuleeth_TH
dc.contributor.authorภูมิใจ สรเสณีth_TH
dc.contributor.authorPhoomjai Sornseneeth_TH
dc.contributor.authorทรงยศ ราชบริรักษ์th_TH
dc.contributor.authorSongyos Rajborirakth_TH
dc.contributor.authorคณกรณ์ หอศิริธรรมth_TH
dc.contributor.authorKanakorn Horsirithamth_TH
dc.contributor.authorสรณีย์ หอศิริธรรมth_TH
dc.contributor.authorSoranee Hosirithamth_TH
dc.date.accessioned2021-05-27T03:22:21Z
dc.date.available2021-05-27T03:22:21Z
dc.date.issued2563-12
dc.identifier.otherhs2667
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5354
dc.description.abstractจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ส่งผลให้คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา มีการมอบหมายอำนาจและหน้าที่ให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภายใต้การรับผิดชอบของคณะแพทยศาสตร์ ดำเนินการโปรแกรมติดตามผู้เดินทางมาจากประเทศมาเลเซีย โดยดำเนินการในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 12 ซึ่งมีอาณาเขตติดกับประเทศมาเลเซีย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างระบบฐานข้อมูลเฝ้าระวังและติดตามโรคติดเชื้อโควิด-19 พัฒนาระบบเฝ้าระวังและติดตามสร้างแนวทางระบบเฝ้าระวังโรคติดต่ออื่นๆ อย่างเป็นระบบ ตลอดไปจนถึงถอดบทเรียนและพัฒนาระบบฐานข้อมูลเฝ้าระวังและติดตามโรคติดเชื้อโควิด-19 ที่ทีมวิจัยได้สร้างและพัฒนาขึ้น งานวิจัยชิ้นนี้มุ่งเน้นทำความเข้าใจภาพรวมของระบบการทำงานทั้งระบบเฝ้าระวังและระบบฐานข้อมูลของระบบรายงานโควิด-19 โดยจำเป็นต้องใช้มุมมองที่ผสมผสานกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ โดยจะแบ่งเป็น 2 ส่วนย่อย คือ 1. การถอดบทเรียนการบริหารจัดการโรคติดเชื้อโควิด-19 ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ และ 2. การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพและวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จะเป็นการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับระบบเฝ้าระวังการระบาดกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในเขตสุขภาพที่ 12 จากหลายๆ ภาคส่วน ภาคส่วนละ 5 ราย หรือจนกว่าข้อมูลจะอิ่มตัว ทั้งนี้ เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลและระบบเฝ้าระวังติดตามโรคติดเชื้อโควิด-19 โดยเฉพาะในกลุ่มประชากรไทยข้ามพรมแดน สำหรับประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ทีมวิจัยได้เลือกมาเพื่อเก็บข้อมูลในการวิจัยและลงพื้นที่ คือ พื้นที่สุขภาพเขต 12 เนื่องจากเขตสุขภาพที่ 12 ซึ่งมีอาณาเขตติดกับประเทศมาเลเซีย จึงมีบริบทที่แตกต่างไปจากเขตสุขภาพอื่นๆ และจำเป็นที่จะต้องมีระบบและมาตรการสำหรับประชากรไทยที่ข้ามพรมแดนไทย-มาเลเซีย การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งอออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1. การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธี Content Analysis โดยการรวบรวมเนื้อหาสาระจากการสัมภาษณ์ แล้วจำแนกเป็นกลุ่มตามประเด็นต่างๆ ตามแนวคิดที่ตั้งไว้ และ 2. การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จะแบ่งหน่วยงานต่างๆ ออกเป็น ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขั้นพื้นฐานและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขั้นรอง ซึ่งเป็นการวิเคราะห์โดยอาศัย stakeholder matrix ความสัมพันธ์ระหว่างความสำคัญและการมีอิทธิพลจากการดำเนินงาน หลังจากการปรับใช้ระบบที่ทางทีมผู้วิจัยได้แนะนำและติดตั้งดังกล่าว 5 สถานประกอบการในเขตพื้นที่สุขภาพเขต 12 มีข้อเสนอแนะดังนี้ 1. ด่านตรวจคนเข้าเมือง คือการปรับรูปแบบระบบการตรวจคนเข้าเมืองให้สามารถอัพเดทและแสดงผลบน Dashboard แบบเรียลไทม์ ตลอดไปจนถึงการทำ Telemedicine ใช้ติดตามอาการผู้ป่วย อีกทั้งการเสนอแนะดังกล่าวยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้กับด่านอื่นๆ อีกด้วย 2. โรงแรมและห้างสรรพสินค้า (ลีการ์เดนส์พลาซ่า) เป็นสถานที่ที่มีคนเข้าออกเป็นจำนวนมากในเวลาเดียวกัน จึงจำเป็นต้องใช้เครื่องวัดอุณหภูมิแบบกล้องเข้ามาแทน แต่เนื่องจากเครื่องวัดอุณหภูมิแบบกล้องเป็นระบบการบันทึกจดจำใบหน้า ไม่สามารถระบุชื่อได้ จึงควรพัฒนาจัดตั้งให้ระบบสแกนบัตร Radio Frequency Identification (RFID) และวัดอุณหภูมิในเวลาเดียวกัน เพื่อได้ข้อมูลที่ถูกต้องและรวดเร็ว 3. สถานีขนส่ง (พื้นที่สถานีขนส่งจังหวัดสงขลา) เสนอแนะให้พัฒนาวิธีการดึงข้อมูลจากลายมือในภาพถ่าย ลงฐานข้อมูล 4. สถานีรถไฟ (พื้นที่สถานีรถไฟ-ชุมทางหาดใหญ่) สถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่ จะมีการปรับรูปแบบจำหน่ายตั๋วเดินรถเป็นแบบบัตรโดยสาร RFID และระหว่างรอระบบบัตรโดยสารแบบ RFID ให้มีการจ้างเจ้าหน้าที่ Part-time เป็นระยะเวลา 2 เดือน เพื่อช่วยในการลงทะเบียนสำหรับผู้ที่เดินทางประจำ (รายเดือน) และออก QR CODE ติดหลังตั๋วเดินรถ และ 5. โรงเรียน (พื้นที่โรงเรียนนาทวีวิทยาคม) เช่นเดียวกับโรงแรมและห้างสรรพสินค้าเป็นสถานที่ที่มีคนเข้าออกเป็นจำนวนมากในเวลาเดียวกัน จึงจำเป็นต้องใช้เครื่องวัดอุณหภูมิแบบกล้องเข้ามาแทน แต่เนื่องจากเครื่องวัดอุณหภูมิแบบกล้องเป็นระบบการบันทึกจดจำใบหน้า ไม่สามารถระบุชื่อได้ จึงควรพัฒนาจัดตั้งให้ระบบสแกนบัตร RFID และวัดอุณหภูมิในเวลาเดียวกัน เพื่อได้ข้อมูลที่ถูกต้องและรวดเร็วth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectCoronavirus Infectionsth_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectการติดเชื้อไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectการเฝ้าระวังโรคth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.subjectVirus Diseases--Prevention & Controlth_TH
dc.subjectโรคเกิดจากไวรัสth_TH
dc.subjectInformation Systemen_US
dc.subjectSurveillanceen_US
dc.titleการพัฒนากระบวนการและฐานข้อมูล ระบบเฝ้าระวังโรคติดเชื้อโควิด-19 สำหรับกลุ่มประชากรไทยข้ามพรมแดน ในเขตสุขภาพที่ 12th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of the health surveillance process and data lake related to COVID-19 infection for the Thai Transboundary population in the 12th Thai health sectorth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeFrom the communicable diseases in Songkhla province committee meeting, there are authorizes and duties are assigned to Prince of Songkhla University, under the responsibility of the faculty of Medicine, to operate a travel tracking program from Malaysia in which the 12ths Objective To create a database system for surveillance and monitoring of COVID-19 infectious diseases and follow to other systems for communicable diseases, as well as developing a database for surveillance and monitoring of Covid-12 from the researcher team have been developed. This research focuses on understanding the systematic overview of both the surveillance and database system of COVID-19 reporting system, it is necessary to use a combined viewpoint to achieve this objective, which divided into two subjections 1.Transcription a lesson on COVID-19 infectious disease management both Thailand and abroad 2.Qulitative data collection and stakeholder analysis to develop a database and surveillance system for COVID-19 infectious disease by specialty in Thai transborder population for Sample population. The sample population that the research team had chosen to collect data for the research and field trip was 12th health sector for the reason is there is the nearest border to Malaysia which has a different context than other health sector and essential to, there must be a system and measures for the Thai transborder population between Thailand and Malaysia. Until the data is analytically saturated. The data is divided into two parts: 1. Data analysis using the content analysis method by collecting the content from the interviewer and classifying them according to various issues according to the set concept 2. The analysis of stakeholders is divided into divisions. It is analyzed based on the stakeholder matrix, the relationship between significance and influence. After the implementation of the system that the research team has recommended and installed, there are five establishments in the 12th health sector area that have the following recommendations. 1. Immigration can be updated and displayed on the dashboard in real-time as well as telemedicine used to track the patient symptoms and such recommendations can also be applied to other people. 2. Hotels and department store (Lee garden plaza) are places that got a lot of people to enter and exit at the same time, so a thermometer camera was needed instead. However, the reason is the thermometer camera is a face recognition recording system, cannot be identified, it should be developed to establish a system for scanning RFID cards and measuring the temperature at the same time to obtain accurate and fast information. 3. The bus station (Songkhla bus station area) suggests developing a method to extract datafrom the handwriting in the photo database. 4. Train station (Hatyai railway station area) Hatyai railway station will adjust to transforming the ticket to be an RFID ticket while waiting for the RFID ticket system, part-time staff will be hired for two months to help the monthly passenger register and print a QR code and stamp be hide the ticket. 5. School (Nataweewittayakom school area) as same as Hotels and department store that have a lot of people enter and exit at the same time so that necessary to use the thermometer camera instead, the reason is the thermometer camera is face recognition recording system, cannot be identified, it should be developed to establish a system for scanning RFID cards and measuring temperature at the same time to obtain accurate and fast information.th_TH
dc.identifier.callnoHB886 พ439ก 2563
dc.identifier.contactno63-110
dc.subject.keywordTransboundary Populationth_TH
dc.subject.keywordประชากรไทยข้ามพรมแดนth_TH
dc.subject.keywordSARS-CoV-2en_US
.custom.citationพลเทพ วิจิตรคุณากร, Polathep Vichitkunakorn, ชนนท์ กองกมล, Chanon Kongkamol, ธรรมสินธ์ อิงวิยะ, Thammasin Ingviya, สิทธิโชค ไชยชูลี, Sitthichok Chaichulee, ภูมิใจ สรเสณี, Phoomjai Sornsenee, ทรงยศ ราชบริรักษ์, Songyos Rajborirak, คณกรณ์ หอศิริธรรม, Kanakorn Horsiritham, สรณีย์ หอศิริธรรม and Soranee Hosiritham. "การพัฒนากระบวนการและฐานข้อมูล ระบบเฝ้าระวังโรคติดเชื้อโควิด-19 สำหรับกลุ่มประชากรไทยข้ามพรมแดน ในเขตสุขภาพที่ 12." 2563. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5354">http://hdl.handle.net/11228/5354</a>.
.custom.total_download224
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year15
.custom.downloaded_fiscal_year6

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2667.pdf
ขนาด: 4.165Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย