Show simple item record

An early health technology assessment of COVID-19 vaccines: data for vaccine selection and targeting to maximise public health impact in Thailand

dc.contributor.authorพัทธรา ลีฬหวรงค์th_TH
dc.contributor.authorPattara Leelahavarongth_TH
dc.contributor.authorยศ ตีระวัฒนานนท์th_TH
dc.contributor.authorYot Teerawattananonth_TH
dc.contributor.authorวรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัยth_TH
dc.contributor.authorWanrudee Isaranuwatchaith_TH
dc.contributor.authorนันทสิทธิ์ เหลืองอาสนะทิพย์th_TH
dc.contributor.authorNantasit Luangasanatipth_TH
dc.contributor.authorวิริชดา ปานงามth_TH
dc.contributor.authorWirichada (Pongtavornpinyo) Pan-ngumth_TH
dc.contributor.authorสมภพ ศรลัมพ์th_TH
dc.contributor.authorSompob Saralambath_TH
dc.contributor.authorจุฑามาศ พราวแจ้งth_TH
dc.contributor.authorJuthamas Prawjaength_TH
dc.contributor.authorสรายุทธ ขันธะth_TH
dc.contributor.authorSarayuth Khunthath_TH
dc.contributor.authorClapham, Hannah E.th_TH
dc.contributor.authorPainter, Christopher Matthew Neilth_TH
dc.contributor.authorYi, Wangth_TH
dc.contributor.authorPark, Minahth_TH
dc.date.accessioned2021-06-01T02:52:38Z
dc.date.available2021-06-01T02:52:38Z
dc.date.issued2564-04-30
dc.identifier.otherhe0146
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5358
dc.description.abstractนับแต่มีการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เมื่อต้นปี พ.ศ. 2563 ทำให้มีผู้ติดเชื้อไปแล้วกว่า 100 ล้านคนและเสียชีวิตมากกว่า 2 ล้านคนทั่วโลก ถึงแม้ประเทศไทยจะประสบความสำเร็จในการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นก่อให้เกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างกว้างขวาง ดังนั้นทางออกที่ยั่งยืนของวิกฤตครั้งนี้ คือ การให้วัคซีนป้องกันการติดเชื้อ COVID-19 กับคนส่วนใหญ่ของประเทศ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมตอบคำถามสำคัญเชิงนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาและใช้วัคซีนในประเทศไทย ได้แก่ (1) คุณลักษณะสำคัญของวัคซีนทั้งด้านประสิทธิผล ระยะเวลาในการป้องกัน ราคา ที่ทำให้วัคซีนมีความคุ้มค่า (2) กลุ่มเป้าหมายที่ควรได้รับวัคซีนก่อนหลังในกรณีที่วัคซีนมีจำกัด เพื่อทำให้เกิดผลดีที่สุดต่อการควบคุมการระบาดของโรคและต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ (3) หากเริ่มให้วัคซีนในประชากรกลุ่มเป้าหมายแล้ว มาตรการปิดประเทศสามารถผ่อนปรนได้หรือไม่ วิธีการศึกษา นักวิจัยปรับปรุงแบบจำลองจาก CoMo Consortium ซึ่งพัฒนาโดยทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัย อ๊อกฟอร์ด สหราชอาณาจักรร่วมกับนักวิจัยทั่วโลก รวมทั้งนักวิจัยในโครงการวิจัยนี้ด้วย โดยใช้ตัวแปรสำคัญด้านพฤติกรรมของคนไทยและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการระบาดของเชื้อโคโรนา 2019 ในช่วงต้นปี 2563 ในประเทศไทย สำหรับวัคซีนโควิดที่ใช้ในการศึกษานี้เป็นวัคซีนสมมุติที่มีคุณสมบัติตรงกับที่องค์การอนามัยโลกกำหนดไว้ กล่าวคือ มีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งในการป้องกันการติดเชื้อ หรือลดโอกาสถ่ายทอดเชื้อไปสู่ผู้อื่น หรือลดความรุนแรงของโรคในกลุ่มผู้ติดเชื้อ สรุปผลการศึกษา วัคซีนโควิด-19 ที่มีประสิทธิผลในการป้องกันการติดเชื้อสามารถลดความรุนแรงในการแพร่ระบาดของโรคและลดจำนวนผู้เสียชีวิตได้มากกว่าวัคซีนที่มีประสิทธิผลด้านอื่นๆ นอกจากนี้ ระยะเวลาในการป้องกันโรคที่นานเป็นคุณสมบัติที่สำคัญเช่นเดียวกันกับประสิทธิผลของวัคซีน สำหรับการจัดลำดับความสำคัญของประชากรกลุ่มเป้าหมายเพื่อจัดสรรวัคซีนนั้น ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติด้านประสิทธิผลของวัคซีนและรูปแบบการแพร่ระบาด โดยพบว่า วัคซีนที่มีประสิทธิผลในการป้องกันการติดเชื้อ เหมาะในการให้ในกลุ่มประชากรกลุ่มอายุ 20-39 ปี และวัคซีนที่มีประสิทธิผลในการลดความรุนแรงของโรคเหมาะในการให้ในกลุ่มผู้สูงอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้น เพื่อหวังผลในการลดความรุนแรงในการแพร่ระบาดของโรคและลดจำนวนผู้เสียชีวิตให้มากที่สุด สำหรับมาตรการปิดประเทศ พบว่า อาจจะสามารถผ่อนปรนได้มากขึ้น หากมีวัคซีนควบคู่ไปกับการปฏิบัติตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม การสวมใส่หน้ากากอนามัย และการหมั่นล้างมือ (social vaccine) อย่างเคร่งครัด ซึ่งมาตรการ social vaccine ถือว่าเป็นกุญแจสำคัญในการควบคุมการแพร่ระบาดโรคโควิด-19 ผลการศึกษานี้นอกจากจะเป็นประโยชน์แก่ผู้กำหนดนโยบายในการเลือกวัคซีนโควิดและกำหนดกลุ่มเป้าหมาย เพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจและการประเมินผลสำเร็จของนโยบายวัคซีนในการควบคุมโรคth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isoenth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectวัคซีนth_TH
dc.subjectวัคซีน--การประเมินth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectนโยบายด้านสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectการวิเคราะห์ต้นทุนth_TH
dc.subjectHealth Technology Assessmentth_TH
dc.subjectเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขth_TH
dc.subjectระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing)th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.subjectVaccines--Evaluationth_TH
dc.titleการประเมินผลกระทบและความคุ้มค่าของวัคซีนโควิดที่พึงประสงค์เพื่อใช้ในการพัฒนาและคัดเลือกวัคซีนสำหรับใช้ในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeAn early health technology assessment of COVID-19 vaccines: data for vaccine selection and targeting to maximise public health impact in Thailandth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThailand is facing the dilemma of which groups to prioritise for the limited first tranche of vaccinations in 2021. A mathematical modelling analysis was performed to compare the potential short-term impact of allocating the available doses to either the high-risk group (over 65-year-olds) or the high incidence group (aged 20-39). Vaccinating the high incidence group with a vaccine with sufficiently high protection against infection (more than 50%) could provide enough herd effects to delay the expected epidemic peak, resulting in fewer deaths within the 12-month time horizon compared to vaccinating the same number of the high-risk group. After 12 months, if no further vaccination or other interventions were deployed, this strategy would lead to more deaths. With the right vaccine efficacy profile, targeting the high incidence groups could be a viable short-term component of the Thai vaccination strategy. These results and emerging evidence on vaccines and susceptibility suggest prioritisation guidelines should be more nuanced.th_TH
dc.identifier.callnoW74 Y66a 2021
dc.identifier.contactno63-093
.custom.citationพัทธรา ลีฬหวรงค์, Pattara Leelahavarong, ยศ ตีระวัฒนานนท์, Yot Teerawattananon, วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย, Wanrudee Isaranuwatchai, นันทสิทธิ์ เหลืองอาสนะทิพย์, Nantasit Luangasanatip, วิริชดา ปานงาม, Wirichada (Pongtavornpinyo) Pan-ngum, สมภพ ศรลัมพ์, Sompob Saralamba, จุฑามาศ พราวแจ้ง, Juthamas Prawjaeng, สรายุทธ ขันธะ, Sarayuth Khuntha, Clapham, Hannah E., Painter, Christopher Matthew Neil, Yi, Wang and Park, Minah. "การประเมินผลกระทบและความคุ้มค่าของวัคซีนโควิดที่พึงประสงค์เพื่อใช้ในการพัฒนาและคัดเลือกวัคซีนสำหรับใช้ในประเทศไทย." 2564. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5358">http://hdl.handle.net/11228/5358</a>.
.custom.total_download868
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year7
.custom.downloaded_fiscal_year1

Fulltext
Icon
Name: he0146.pdf
Size: 1.638Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record