dc.contributor.author | รัตนา รัชตพิสิฐกร | th_TH |
dc.contributor.author | Rattana Ratchatapisitkon | th_TH |
dc.contributor.author | ฉวีวัชร คีรีแก้ว | th_TH |
dc.contributor.author | Chaweewat Khirikaew | th_TH |
dc.date.accessioned | 2021-06-16T08:47:37Z | |
dc.date.available | 2021-06-16T08:47:37Z | |
dc.date.issued | 2564-03 | |
dc.identifier.other | hs2673 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5361 | |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยเรื่อง “ประสิทธิผลการพัฒนาศักยภาพผู้ประสานงานด้านภาษาในการประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว จังหวัดเชียงราย” มีวัตถุประสงค์เพื่อให้แรงงานต่างด้าวมีหลักประกันสุขภาพ โดยการพัฒนาศักยภาพผู้ประสานงานด้านภาษาในการประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าวและเพื่อให้แรงงานต่างด้าวมีความรู้เรื่องการประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าวโดยการพัฒนาศักยภาพผู้ประสานงานด้านภาษาในการประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ประสานงานด้านภาษาจากอำเภอเมืองและอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย จำนวน 120 คน และการสุ่มสำรวจความรู้เรื่องการประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว จำนวน 385 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบทดสอบความรู้ ก่อน-หลังการอบรม แบบประเมินความรู้ในการประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว แบบนิเทศติดตาม รวมถึงการรวบรวมสถิติการลงทะเบียนสิทธิประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ เป็นสถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน คือ t-test ผลการศึกษา พบว่า การพัฒนาศักยภาพผู้ประสานงานด้านภาษาในการประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว จังหวัดเชียงราย ดำเนินการเริ่มจากการสำรวจผู้ประสานงานด้านภาษาที่มีคุณสมบัติตามที่กำหนดและจัดการอบรมให้กับผู้ประสานงานด้านภาษาตามแนวทางการประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ผู้ประสานด้านภาษาที่เข้ารับการอบรม ส่วนใหญ่มีอายุ 20-29 ปี เป็นเพศชาย มีวุฒิการศึกษาระดับประถมศึกษา อาชีพรับจ้าง รายได้ครอบครัวต่อเดือน 5,000-10,000 บาท และเป็นผู้ประสานงานด้านภาษาที่อยู่ในประเทศไทย 5-9 ปี การประเมินผลการอบรม พบว่า ก่อนอบรมผู้ประสานงานด้านภาษามีความรู้อยู่ในระดับน้อยและภายหลังการอบรมมีระดับความรู้อยู่ในระดับมาก คะแนนแบบทดสอบก่อนและหลังการอบรมมีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ภายหลังการอบรมมีการติดตามและนิเทศการปฏิบัติงานของผู้ประสานงานด้านภาษา พบว่า ประเด็นที่ให้คำปรึกษามากที่สุดคือ สิทธิประโยชน์การประกันสุขภาพ อัตราค่าประกันสุขภาพ หลักฐานประกอบในการตรวจสุขภาพและประกันสุขภาพ การย้ายสถานพยาบาลและการตรวจสอบสิทธิหลักประกันสุขภาพ สำหรับการลงทะเบียนสิทธิประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว พบว่า มีแรงงานต่างด้าวลงทะเบียนบัตรประกันสุขภาพเพิ่มขึ้นภายหลังการพัฒนาศักยภาพผู้ประสานงานด้านภาษา ในการประเมินความรู้เรื่องการประกันสุขภาพในแรงงานต่างด้าวที่มีผู้ประสานงานด้านภาษาที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ พบว่า แรงงานต่างด้าวมีระดับความรู้เรื่องการประกันสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง ผลการวิจัย สามารถนำไปปรับใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาศักยภาพผู้ประสานงานด้านภาษาในพื้นที่อื่นได้ ส่งผลให้แรงงานต่างด้าวสามารถเข้าถึงสิทธิหลักประกันสุขภาพได้มากขึ้น | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | ประกันสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Health Insurance | th_TH |
dc.subject | แรงงานต่างด้าว | th_TH |
dc.subject | Foreign Workers | th_TH |
dc.subject | แรงงานข้ามชาติ | th_TH |
dc.subject | Migrant Workers | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Health Care System | th_TH |
dc.subject | หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ | th_TH |
dc.subject | Universal Health Coverage | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.subject | แรงงานต่างด้าว--บริการทางการแพทย์ | th_TH |
dc.subject | Universal Coverage Scheme | th_TH |
dc.subject | Translators | en_US |
dc.subject | Interpretators | en_US |
dc.title | ประสิทธิผลการพัฒนาศักยภาพผู้ประสานงานด้านภาษาในการประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว จังหวัดเชียงราย | th_TH |
dc.title.alternative | The Efficiency of the development of the language coordinator in health insurance for foreign workers, Chiangrai Province | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | A research study entitled “The Result of Capability Development of Language Coordinators' on Foreign Workers' Health Insurance, Chiang Rai Province” aims to provide foreign workers with access to health insurance by developing the capability of language coordinators on foreign workers health insurance and to provide foreign workers with knowledge of foreign labor health insurance. The samples were 120 language coordinators from Muang Chiang Rai District and Mae Sai District and a random survey of knowledge on foreign worker health insurance of 385 people. Survey tools used included general information query, before-after training knowledge quiz, knowledge evaluation form on foreign workers' health insurance, Supervising and tracking form as well as the collection of migrant worker’s health insurance registration statistics. Statistics used for analysis; descriptive statistics were frequency, percentage, mean and standard deviation, the inferential statistics are t-test. The results of the study showed that the capability development of the language coordinators in health insurance for foreign workers in Chiang Rai: starting with the survey of the language coordinators with required qualifications and setting up training sessions according to health insurance guidelines of the Ministry of Public Health. Most of language coordinators were 20-29 years of age, male, primary education qualification, freelance workers with monthly income from 5,000-10,000 baht, and were language coordinators based in Thailand for 5-9 years. Before the training, the language coordinators had a low level of knowledge and after the training they have a high level of knowledge. The test scores before and after the training were significantly different with statistical significance at the level of .05 After the training, the language coordinators' performance was monitored and supervised with result indicating that the most seek-for-advice topics were the benefits of health insurance, rates, required documents for health examination and health insurance, change of medical facility eligibility according to work location, and verification of health insurance eligibility. For the registration of health insurance of migrant workers, it was found that more foreign workers registered for health insurance cards after the development of capability of language coordinators. In assessing the knowledge of foreign workers on health insurance with the support of the trained language coordinators, it was found that foreign workers had a moderate level of knowledge of health insurance. The results of the research can be used to guide the development of language coordinators in other areas of Thailand. As a result, migrant workers have more access to health insurance. | th_TH |
dc.identifier.callno | W160 ร375ป 2564 | |
dc.identifier.contactno | 63-045 | |
dc.subject.keyword | ผู้ประสานงานด้านภาษา | th_TH |
dc.subject.keyword | Language Coordinator | th_TH |
.custom.citation | รัตนา รัชตพิสิฐกร, Rattana Ratchatapisitkon, ฉวีวัชร คีรีแก้ว and Chaweewat Khirikaew. "ประสิทธิผลการพัฒนาศักยภาพผู้ประสานงานด้านภาษาในการประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว จังหวัดเชียงราย." 2564. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5361">http://hdl.handle.net/11228/5361</a>. | |
.custom.total_download | 36 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 1 | |
.custom.downloaded_this_year | 5 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 3 | |