dc.contributor.author | ปวีณา มีประดิษฐ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Parvena Meepradit | th_TH |
dc.contributor.author | โกเมศ อัมพวัน | th_TH |
dc.contributor.author | Komate Amphawan | th_TH |
dc.contributor.author | พิจิตรา ปฏิพัตร | th_TH |
dc.contributor.author | Pichitra Patipat | th_TH |
dc.contributor.author | ทิพรัตน์ นาคมอญ | th_TH |
dc.contributor.author | Pichitra Patipat | th_TH |
dc.date.accessioned | 2021-06-17T09:02:06Z | |
dc.date.available | 2021-06-17T09:02:06Z | |
dc.date.issued | 2564-04 | |
dc.identifier.other | hs2674 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5362 | |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สำหรับการยืนทำงานเพื่อความปลอดภัย รูปแบบของการศึกษาแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ การกำหนดมาตรการในการยืนทำงานอย่างปลอดภัย การสร้างโปรแกรมประยุกต์สำหรับการยืนทำงานเพื่อความปลอดภัยในรูปแบบของแอปพลิเคชันในโทรศัพท์มือถือและการทดลองใช้งานโปรแกรมที่สร้างขึ้นในกลุ่มตัวอย่างที่ทำงานในลักษณะการยืนทำงานและยินดีเข้าการวิจัย จำนวน 180 คน ซึ่งจะได้รับการประเมินความพึงพอใจและความรู้สึกปวดกล้ามเนื้อบริเวณน่องและเท้า ภายหลังการทดลองใช้โปรแกรมที่สามารถติดตั้งแอปพลิเคชันผ่าน App Store ในระบบ IOS และผ่าน Play Store ในระบบ Android ด้วยการพิมพ์หาคำว่า “Safety Standing” ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อองค์ประกอบและการใช้งานโปรแกรมส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก ความรู้สึกปวดน่องลดลงอย่างมีนัยสำคัญหลังใช้งานโปรแกรม 3 สัปดาห์ และความรู้สึกปวดเท้าลดลงอย่างมีนัยสำคัญเมื่อใช้งานโปรแกรมเพียง 1 สัปดาห์ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าโปรแกรมประยุกต์สำหรับการยืนทำงานเพื่อความปลอดภัยในรูปแบบของแอปพลิเคชันในโทรศัพท์มือถือสามารถช่วยลดความรู้สึกปวดบริเวณน่องและเท้าได้ รวมถึงทำให้เกิดความพึงพอใจในการใช้งาน ซึ่งจะส่งผลให้เกิดความปลอดภัยในการยืนทำงานของคนงานต่อไป | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | ความปลอดภัยในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Health Behavior | th_TH |
dc.subject | การสร้างเสริมสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Health Promotion | th_TH |
dc.subject | Mobile Application | th_TH |
dc.subject | โทรศัพท์เคลื่อนที่--โปรแกรมประยุกต์ | th_TH |
dc.subject | ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) | th_TH |
dc.subject | อาชีวอนามัย | th_TH |
dc.subject | Occupational Health | th_TH |
dc.subject | Occupational Health and Safety | th_TH |
dc.title | โปรแกรมประยุกต์สำหรับการยืนทำงานเพื่อความปลอดภัย | th_TH |
dc.title.alternative | The Mobile Application for Standing Work Safety | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to develop a mobile application for standing work safety. The study process was divided into 3 steps including the determination of safe standing measures, the creating applications for standing work safety in the form of mobile application, and the trial programs created. The 180 standing workers participated in this study. Satisfaction and pain sensation in the calf and foot muscles were assessed after the trial run. The application can be installed through App Store in the IOS system and via the Play Store for Android users with the keyword "Safety Standing". The results of the study showed that the sample group was satisfied with the composition, and the usability of most programs is at a high level. After the trial run of the program, the feeling of calf pain was significantly reduced for 3 weeks and the sensation of foot pain was significantly reduced after just 1 week. Therefore, it can be concluded that the safety standing application in the form of a mobile phone application can help reduce pain in the calf and feet. As well as causing satisfaction in use that will result in the safety of the workers' standing. | th_TH |
dc.identifier.callno | WA485 ป496ป 2564 | |
dc.identifier.contactno | 63-061 | |
dc.subject.keyword | Work Safety | th_TH |
dc.subject.keyword | Safety Standing | th_TH |
dc.subject.keyword | การยืนทำงาน | th_TH |
.custom.citation | ปวีณา มีประดิษฐ์, Parvena Meepradit, โกเมศ อัมพวัน, Komate Amphawan, พิจิตรา ปฏิพัตร, Pichitra Patipat, ทิพรัตน์ นาคมอญ and Pichitra Patipat. "โปรแกรมประยุกต์สำหรับการยืนทำงานเพื่อความปลอดภัย." 2564. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5362">http://hdl.handle.net/11228/5362</a>. | |
.custom.total_download | 35 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 1 | |
.custom.downloaded_this_year | 8 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 4 | |