dc.contributor.author | สมัย ศิริทองถาวร | th_TH |
dc.contributor.author | Samai Sirithongthaworn | th_TH |
dc.contributor.author | ดวงกมล ตั้งวิริยะไพบูลย์ | th_TH |
dc.contributor.author | Duangkamol Tangviriyapaiboon | th_TH |
dc.contributor.author | โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ | th_TH |
dc.contributor.author | Chosita Pavasuthipaisit | th_TH |
dc.contributor.author | หทัยชนก อภิโกมลกร | th_TH |
dc.contributor.author | Hathaichanok Apikomolkorn | th_TH |
dc.contributor.author | ปริวัตร เขื่อนแก้ว | th_TH |
dc.contributor.author | Pariwat Kuankaew | th_TH |
dc.contributor.author | อมรา ธนศุภรัตนา | th_TH |
dc.contributor.author | Amara Thanasuparatana | th_TH |
dc.contributor.author | นพวรรณ บัวทอง | th_TH |
dc.contributor.author | Noppawan Buathong | th_TH |
dc.contributor.author | ชญานิษฐ์ อนันตวรวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Chayanit Anantavorawong | th_TH |
dc.contributor.author | เสาวรส แก้วหิรัญ | th_TH |
dc.contributor.author | Saowarod Kaewhiran | th_TH |
dc.contributor.author | ชิดาวรรณ สุยะก๋อง | th_TH |
dc.contributor.author | Chidawan Suyakong | th_TH |
dc.contributor.author | มัลลิกา ปัญญาผาบ | th_TH |
dc.contributor.author | Mallika Panyaphab | th_TH |
dc.contributor.author | พลอยพิมพ์ พุทธปวน | th_TH |
dc.contributor.author | Ploypim Puttapuan | th_TH |
dc.date.accessioned | 2021-06-24T05:43:56Z | |
dc.date.available | 2021-06-24T05:43:56Z | |
dc.date.issued | 2564-03 | |
dc.identifier.other | hs2675 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5363 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยประยุกต์ (Applied research) มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการใช้เครื่องมือวินิจฉัยภาวะออทิสซึมในระยะเริ่มแรกสำหรับเด็กไทย และเพื่อศึกษาแนวทางในการนำเครื่องมือ Thai Diagnostic Autism Scale (TDAS) ไปใช้ในบริบทจริงของโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไป ในเขตสุขภาพที่ 1 รวมทั้งเพื่อพัฒนาโมเดลต้นแบบในการนำเครื่องมือ TDAS ไปใช้ในพื้นที่จริง ทดลองดำเนินการในโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปในเขตสุขภาพที่ 1 โรงพยาบาลขอนแก่น โรงพยาบาลบางพลี และโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี จำนวนทั้งหมด 13 โรงพยาบาล ได้ทดลองใช้เครื่องมือประเมินเด็กที่สงสัยภาวะออทิสซึมที่มีช่วงอายุ 12 - 48 เดือน จำนวน 382 ราย พบว่า 317 ราย คิดเป็นร้อยละ 82.98 มีภาวะออทิสติก บุคลากรมีทักษะการใช้เครื่องมือหลังการอบรมอยู่ในระดับดีมาก 100% เด็กที่มีความเสี่ยงพัฒนาการช้าในด้านการใช้ภาษา (Expressive language (EL)) ด้านการเข้าใจภาษา (Receptive language (RL)) และด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคม (Personal and Social (PS)) อย่างใดอย่างหนึ่งมีสัดส่วนของการมีภาวะออทิสติกมากกว่า 0.5 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ปัจจัยที่ผู้บริหารโรงพยาบาลและทีมสหวิชาชีพในระดับโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไปให้ความสำคัญมากที่สุด คือ นโยบายจากส่วนกลาง ภาวะผู้นำของผู้อำนวยการโรงพยาบาล บุคลากรและทีมสหวิชาชีพ อุปสรรคสำคัญในการจัดบริการสำหรับเด็กออทิสซึมในพื้นที่จริง พบว่า ยังมีความล่าช้าในการรอรับบริการ การวินิจฉัย การบำบัดรักษาต่อเนื่องและการตระหนัก เข้าใจและการมีส่วนร่วมของพ่อแม่ ผู้ปกครอง โดยงานวิจัยนี้ได้มีข้อเสนอแนะในการปรับแผนผังการดูแลพัฒนาการเด็กปฐมวัยของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อลดขั้นตอนและลดระยะเวลาการรอคอย ในการวินิจฉัยเด็กที่มีภาวะออทิสติกทำให้เด็กสามารถเข้าสู่กระบวนการรักษาได้เร็วขึ้น 6 – 12 เดือน | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Autism Spectrum Disorder | th_TH |
dc.subject | Autism | th_TH |
dc.subject | Autism--Diagnosis | th_TH |
dc.subject | Autistic Disorder | th_TH |
dc.subject | Autistic Disorder--Diagnosis | th_TH |
dc.subject | โรคสมาธิสั้น | th_TH |
dc.subject | โรคสมาธิสั้น--การวินิจฉัย | th_TH |
dc.subject | โรคสมาธิสั้น--การรักษา | th_TH |
dc.subject | Autism in Children | th_TH |
dc.subject | เด็กสมาธิสั้น | th_TH |
dc.subject | การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) | th_TH |
dc.subject | ออทิสซึมในเด็ก | th_TH |
dc.subject | เด็กพิเศษ | th_TH |
dc.subject | พัฒนาการผิดปกติ | th_TH |
dc.title | การศึกษารูปแบบการนำเครื่องมือวินิจฉัยภาวะออทิสซึมในระยะเริ่มแรกสำหรับเด็กไทยไปสู่การปฏิบัติงานในบริบทจริงของเขตสุขภาพที่ 1 (ปีที่ 2) | th_TH |
dc.title.alternative | Implementation of the Thai Diagnostic Autism Scale (TDAS) at Region 1 health Provider | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research is applied research and aims to improve the training course administration
of Thai Diagnostic Autism Scale (TDAS) in the context of secondary and tertiary health care services and develop prototype models for implementing TDAS tools for useable innovations. The trial was conducted in 13 secondary and tertiary health care services with a sample size of 382 children between the ages of 12 and 48 months with suspected autism, found that 317 cases, representing 82.98 percent, had autism. All multidisciplinary staff, were found to have a very good level of post-training administration skills. Additionally, children at risk of delayed development in Expressive language (EL), Receptive language (RL) and Personal and Social (PS) ,results indicated that a delay in one of these domains had a statistically significant proportion of autism greater than 0.5 at the .01 level. At the secondary and the tertiary level, the multidisciplinary health care service teams prioritize centralized policy, leadership of the hospital director, personnel, and the multidisciplinary team. A major obstacle to providing local autism services is the waiting time for diagnostic services, continuing therapy. As well as the awareness and collaborative participation of parents. This research suggests the Ministry of Public Health that to simplify and shorten the waiting time for diagnose a child with autism, the revision of the care mapping of early childhood care is needed. As a result of the revision, a child can access the treatment process 6-12 months sooner than the present system allows. | th_TH |
dc.identifier.callno | WS350.8 ส292ก 2564 | |
dc.identifier.contactno | 63-043 | |
dc.subject.keyword | ออทิสซึม | th_TH |
dc.subject.keyword | เครื่องมือวินิจฉัยภาวะออทิสซึม | th_TH |
dc.subject.keyword | Thai Diagnostic Autism Scale | th_TH |
dc.subject.keyword | ออทิสติก | th_TH |
.custom.citation | สมัย ศิริทองถาวร, Samai Sirithongthaworn, ดวงกมล ตั้งวิริยะไพบูลย์, Duangkamol Tangviriyapaiboon, โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ, Chosita Pavasuthipaisit, หทัยชนก อภิโกมลกร, Hathaichanok Apikomolkorn, ปริวัตร เขื่อนแก้ว, Pariwat Kuankaew, อมรา ธนศุภรัตนา, Amara Thanasuparatana, นพวรรณ บัวทอง, Noppawan Buathong, ชญานิษฐ์ อนันตวรวงศ์, Chayanit Anantavorawong, เสาวรส แก้วหิรัญ, Saowarod Kaewhiran, ชิดาวรรณ สุยะก๋อง, Chidawan Suyakong, มัลลิกา ปัญญาผาบ, Mallika Panyaphab, พลอยพิมพ์ พุทธปวน and Ploypim Puttapuan. "การศึกษารูปแบบการนำเครื่องมือวินิจฉัยภาวะออทิสซึมในระยะเริ่มแรกสำหรับเด็กไทยไปสู่การปฏิบัติงานในบริบทจริงของเขตสุขภาพที่ 1 (ปีที่ 2)." 2564. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5363">http://hdl.handle.net/11228/5363</a>. | |
.custom.total_download | 101 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 15 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 1 | |