Show simple item record

Developing a Fast Healthcare Interoperability Resources (FHIR)-Based Electronic Medical Records for Acute Ischemic Stroke Patients

dc.contributor.authorนิศา วรสูตth_TH
dc.contributor.authorNisa Vorasootth_TH
dc.contributor.authorธนภพ ณ นครพนมth_TH
dc.contributor.authorThanaphop Na Nakhonphanomth_TH
dc.contributor.authorนรงฤทธิ์ เกษมทรัพย์th_TH
dc.contributor.authorNarongrit Kasemsapth_TH
dc.contributor.authorกรรณิการ์ คงบุญเกียรติth_TH
dc.contributor.authorKannikar Kongbunkiatth_TH
dc.contributor.authorสมศักดิ์ เทียมเก่าth_TH
dc.contributor.authorSomsak Tiamkaoth_TH
dc.date.accessioned2021-12-24T03:27:19Z
dc.date.available2021-12-24T03:27:19Z
dc.date.issued2564-12
dc.identifier.otherhs2734
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5446
dc.description.abstractการบันทึกข้อมูลสุขภาพในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์มีความสำคัญต่อการนำข้อมูลไปประมวลผลและแลกเปลี่ยนเพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัย การดูแลรักษาต่อเนื่องและการวิจัย ซึ่งปัจจุบันการใช้ประโยชน์จากข้อมูลดังกล่าวในประเทศไทยยังทำได้จำกัดเนื่องจากไม่มีการใช้มาตรฐานข้อมูลสุขภาพที่เหมาะสมต่อการจัดเก็บและแลกเปลี่ยนข้อมูล ซึ่ง Fast Healthcare Interoperability Resources (FHIR) เป็นมาตรฐานข้อมูลสุขภาพสากลที่สำคัญและนิยมนำมาใช้พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพในหลายประเทศ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาเค้าร่างข้อมูลทางการแพทย์ตามมาตรฐานข้อมูลสุขภาพ FHIR โดยศึกษาจากการวิเคราะห์การเข้าคู่ของข้อมูลในแบบบันทึกข้อมูลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันชนิดขาดเลือด กับข้อกำหนดคุณลักษณะของมาตรฐานข้อมูลสุขภาพ FHIR และมาตรฐานคำศัพท์ทางการแพทย์ ผลการศึกษา พบว่า รายการข้อมูลทุกรายการสามารถเข้าคู่กับชุดข้อมูลตามข้อกำหนดคุณลักษณะของมาตรฐานข้อมูลสุขภาพ FHIR ได้ โดยร้อยละ 96 เข้าคู่โดยตรงกับแกนชุดข้อมูล และร้อยละ 4 ใช้วิธีสร้างหน่วยข้อมูลย่อยเพิ่ม นอกจากนี้ เค้าร่างข้อมูลตามมาตรฐานข้อมูลสุขภาพ FHIR ยังสามารถใช้ระบบคำศัพท์ทางการแพทย์ ประกอบด้วย SNOMED CT, LOINC, ATC, TMT, HL7 และ ISCO-08 มาเข้าคู่ได้ครอบคลุมข้อมูลทุกประเภท เช่น ข้อมูลทางคลินิก ข้อมูลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ข้อมูลยา ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยและข้อมูลอาชีพ มาตรฐานข้อมูลสุขภาพ FHIR จึงเหมาะสมและสามารถนำมาพัฒนาระบบข้อมูลทางการแพทย์สำหรับโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันชนิดขาดเลือดได้th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectStroketh_TH
dc.subjectStroke Patientsth_TH
dc.subjectโรคหลอดเลือดสมองth_TH
dc.subjectโรคหลอดเลือดสมอง--ผู้ป่วยth_TH
dc.subjectข้อมูลสุขภาพth_TH
dc.subjectสารสนเทศทางการแพทย์th_TH
dc.subjectอิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์th_TH
dc.subjectHealth Information Systemsth_TH
dc.subjectElectronic Medical Recordsth_TH
dc.subjectMedical Electronicsth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectHealth Informaticsth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.titleการพัฒนาแบบบันทึกข้อมูลทางการแพทย์อิเล็กทรอนิกส์ด้วยระบบไฟเออร์ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันชนิดขาดเลือดth_TH
dc.title.alternativeDeveloping a Fast Healthcare Interoperability Resources (FHIR)-Based Electronic Medical Records for Acute Ischemic Stroke Patientsth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeElectronic health data plays a prominent role in the delivery of patient care. It depends upon the management of vital information exchanged among healthcare providers, as such can lead to more appropriate decision-making and improved quality of care and research. Currently, the lack of adequate health informatics standards in Thailand is a major challenge for data stored and sharing. Fast Healthcare Interoperability Resources (FHIR) is a globally important health data standard for information modeling and transfer. This study, thus, explored 1) how data schema of Acute Ischemic Stroke Care Record Summary (AISCRS) can be modeled on FHIR specification; and 2) in how far the data elements can bind with standard medical terminologies (SMTs). The study employed a data mapping technique for information modelling by identifying and mapping corresponding elements between data models, i.e., AISCRS, FHIR, and SMTs. The results demonstrated that the entire content of the AISCRS can be modeled using FHIR. 96% of the content mapped onto core elements, and 4% of the content were modelled as extensions. Furthermore, the FHIR data schema comprehensively supported medical terminology system binding, including SNOMED CT, LOINC, ATC, TMT, HL7, and ISCO-08. Therefore, FHIR proved a suitable model for the entire AISCRS.th_TH
dc.identifier.callnoWL355 น687ก 2564
dc.identifier.contactno63-165
dc.subject.keywordระบบข้อมูลสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordมาตรฐานข้อมูลสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordข้อมูลทางการแพทย์th_TH
dc.subject.keywordการแพทย์อิเล็กทรอนิกส์th_TH
dc.subject.keywordFast Healthcare Interoperability Resourcesth_TH
dc.subject.keywordFHIRth_TH
dc.subject.keywordHealth Data Standardsth_TH
.custom.citationนิศา วรสูต, Nisa Vorasoot, ธนภพ ณ นครพนม, Thanaphop Na Nakhonphanom, นรงฤทธิ์ เกษมทรัพย์, Narongrit Kasemsap, กรรณิการ์ คงบุญเกียรติ, Kannikar Kongbunkiat, สมศักดิ์ เทียมเก่า and Somsak Tiamkao. "การพัฒนาแบบบันทึกข้อมูลทางการแพทย์อิเล็กทรอนิกส์ด้วยระบบไฟเออร์ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันชนิดขาดเลือด." 2564. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5446">http://hdl.handle.net/11228/5446</a>.
.custom.total_download37
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year7
.custom.downloaded_fiscal_year2

Fulltext
Icon
Name: hs2734.pdf
Size: 6.052Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record