• ระบบยาของประเทศไทย 2563 

      คณะกรรมการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย 2563 (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-08)
      หนังสือ “ระบบยาของประเทศไทย 2563” หรือ “Thai Drug System 2020” เล่มนี้ นับเป็นหนังสือรายงานสถานการณ์ต่างๆ เกี่ยวกับระบบยาในประเทศไทยที่จัดทำขึ้นเป็นเล่มที่ 3 ภายหลังจากเล่มที่ 1 ที่ออกเผยแพร่เมื่อปี พ.ศ. 2537 และเล่มที่ 2 ...
      ป้ายกำกับ:
    • รูปแบบการบริการสุขภาพของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ภายหลังการถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด โดยใช้กลไกพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 

      รัถยานภิศ รัชตะวรรณ; Ratthayanaphit Ratchathawan; เบญจวรรณ ถนอมชยธวัช; Benjawan Thanormchayatawat; รุ่งนภา จันทรา; Rungnapa Chantra; บุญประจักษ์ จันทร์วิน; Boonprajuk Junwin; วัลลภา ดิษสระ; Wanlapa Dissara; ปิยะพร พรหมแก้ว; Piyaporn Promkaew; มลิวัลย์ รัตยา; Maliwan Rattaya; อัญชนา วิชช์วัฒนางกูร; Anchana Witwattanangoon; วิลาสินี แผ้วชนะ; Wilasinee Paewchana; จีรภา แก้วเขียว; Jeerapa Kaewkiaw; ชนัดดา อนุพัฒน์; Chanatda Anupat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      ระบบสุขภาพปฐมภูมิเป็นการจัดกลไกและกระบวนการในการประสานความร่วมมือเพื่อจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิ ภายใต้พระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 การบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ เป็นภารกิจใหม่ที่ยังไม่เคยปรากฏในอำนาจและหน้าที่ของอ ...
      ป้ายกำกับ:
    • แบบประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับประชาชนไทย (Rational Drug Use Literacy tool: RDUL) และการแปลคะแนน 

      ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; กุสาวดี เมลืองนนท์; Kusawadee Maluangnon; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12-07)
      แบบประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับประชาชนไทย (Rational Drug Use Literacy tool: RDUL) และการแปลคะแนน พัฒนาขึ้นภายใต้โครงการวิจัยการพัฒนาเครื่องมือและประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประชาชนไทย ...
      ป้ายกำกับ:
    • แผนยุทธศาสตร์ทศวรรษพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ พ.ศ.2559-2569 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-03)
      ระบบบริการปฐมภูมิ (Primary Care) เป็นฐานสำคัญของระบบบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ และมีความเท่าเทียม ช่วยลดช่องว่างการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชน ประเทศไทยมีนโยบายและแผนการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิมาอย่างต่อเนื่องกว่า 10 ปี ...
      ป้ายกำกับ: