Show simple item record

Development of telepharmacy practice guideline in Thailand

dc.contributor.authorจิราพร ลิ้มปานานนท์th_TH
dc.contributor.authorJiraporn Limpananontth_TH
dc.contributor.authorวรวิทย์ กิตติวงศ์สุนทรth_TH
dc.contributor.authorWorawit Kittiwongsunthornth_TH
dc.contributor.authorรุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์th_TH
dc.contributor.authorRungpetch Sakulbumrungsilth_TH
dc.contributor.authorวิไลลักษณ์ ตันตะโยธินth_TH
dc.contributor.authorWilailuck Tuntayothinth_TH
dc.contributor.authorกุลวดี ศรีพานิชกุลชัยth_TH
dc.contributor.authorKunwadee Sripanidkulchaith_TH
dc.contributor.authorนุศราพร เกษสมบูรณ์th_TH
dc.contributor.authorNusaraporn Kessomboonth_TH
dc.contributor.authorมุกดาวรรณ ประกอบไวทยกิจth_TH
dc.contributor.authorMukdavan Prakobvaitayakitth_TH
dc.contributor.authorสิริลักษณ์ บัวเจริญth_TH
dc.contributor.authorSiriluk Buacharoenth_TH
dc.contributor.authorอาทิตย์ สอดแสงอรุณงามth_TH
dc.contributor.authorAtit Sodsangaroonngamth_TH
dc.contributor.authorศิริรัตน์ ตันปิชาติth_TH
dc.contributor.authorSirirat Tunpichartth_TH
dc.date.accessioned2022-01-19T03:37:38Z
dc.date.available2022-01-19T03:37:38Z
dc.date.issued2564-09-30
dc.identifier.otherhs2738
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5461
dc.description.abstractปัจจุบัน สภาเภสัชกรรมได้ออกประกาศ เรื่องการกำหนดมาตรฐานและขั้นตอนการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล อย่างไรก็ตาม ในการดำเนินงานจำเป็นต้องมีรายละเอียดเพิ่มเติม เพื่อให้มีแนวทางการดำเนินงานเภสัชกรรมทางไกลที่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและเทคโนโลยีในปัจจุบัน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำแนวทางขั้นพื้นฐานของระบบบริการเภสัชกรรมทางไกลและแนวทางการบริบาลเภสัชกรรม รวมทั้งจัดทำสถาปัตยกรรมข้อมูล (Data Architecture) ที่รองรับการดำเนินงานเภสัชกรรมทางไกล การศึกษานี้เป็นโครงการเชิงพัฒนา การดำเนินการวิจัย แบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 เริ่มจากการทบทวนวรรณกรรม จาก guideline/standard of practice ของต่างประเทศ และการจัดการขนส่งซึ่งเป็นมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับ วิเคราะห์ความเหมาะสมของมาตรฐานต่างประเทศกับบริบทของประเทศไทย ; ทีมวิจัยสังเคราะห์ร่างแนวทางขั้นพื้นฐานของระบบบริการเภสัชกรรมทางไกล แนวทางการบริบาลเภสัชกรรม ; สนทนากลุ่มผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและรับฟังความเห็นต่อร่างฯ จากผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมและสรุปร่างแนวทางขั้นพื้นฐานของระบบบริการเภสัชกรรมทางไกล แนวทางการบริบาลเภสัชกรรม การดำเนินงานในระยะที่ 2 เป็นการจัดทำร่างสถาปัตยกรรมข้อมูลที่รองรับการดำเนินงานเภสัชกรรมทางไกลโดยใช้ร่างแนวทางขั้นพื้นฐานของระบบฯ ที่เป็นข้อสรุปจากระยะที่ 1 หลังจากนั้นจัดรับฟังความเห็นในกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องและสรุปสถาปัตยกรรมข้อมูลที่รองรับการดำเนินงานเภสัชกรรมทางไกล ผลการศึกษาระยะที่ 1 ในการจัดทำแนวทางขั้นพื้นฐานของระบบบริการเภสัชกรรมทางไกลและแนวทางการบริบาลเภสัชกรรม ได้แก่ ชุดข้อมูลพื้นฐานประกอบด้วย ข้อมูลผู้ป่วย ใบสั่งยา การจ่ายยา การบริบาลเภสัชกรรมและการขนส่งยา แนวทางขั้นพื้นฐานของระบบบริการเภสัชกรรมทางไกล ประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ แนวทางการบริบาลเภสัชกรรม ได้แก่ การวิเคราะห์ใบสั่งยาและจัดเตรียมยาตามใบสั่งยาทางไกล (remote prescription) การขนส่งยา (drug transportation) การให้คำปรึกษาด้านยาทางไกล (remote counseling) ผลการศึกษาระยะที่ 2 ได้แก่ (ร่าง) Data Architecture สำหรับส่งข้อมูลโดยใช้ HL7-FHIR โดยกำหนดมาตรฐานข้อมูล ซึ่งจะนำไปสู่ความสามารถในการแลกเปลี่ยนข้อมูล ที่จะทำให้เกิดการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน บนพื้นฐานข้อมูลชุดเดียวกัน ส่งผลต่อผลลัพธ์ในการดูแลผู้ป่วยที่ดีต่อไป ข้อเสนอแนะจากการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วย ข้อเสนอต่อสภาเภสัชกรรมในการประสานงานเพื่อให้เกิดการประกาศใช้แนวทางการบริการเภสัชกรรมทางไกล ข้อมูลมาตรฐานและข้อเสนอในการพัฒนาศักยภาพของเภสัชกรชุมชนให้รองรับระบบบริการเภสัชกรรมทางไกลth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectPharmacyth_TH
dc.subjectเภสัชกรรมth_TH
dc.subjectPharmaceutical Careth_TH
dc.subjectการบริบาลทางเภสัชกรรมth_TH
dc.subjectApplication Softwareth_TH
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์th_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies)th_TH
dc.titleการพัฒนาแนวทางการดำเนินงานบริการเภสัชกรรมทางไกล (Telepharmacy) ในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of telepharmacy practice guideline in Thailandth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeAt present, The Pharmacy council has launched the notification on Guidelines for Telepharmacy, with some additional details required to be stated for the setting of continuous and efficient operating in telepharmacy, while conforming current changes of society and technology. This study aimed to conduct the standard of telepharmacy and guidelines for pharmaceutical care and to develop data architecture which supports and facilitates the operating of telepharmacy. This study was designed in accordance with development research, in which it was divided into 2 phases. The first phase, literature review was done from guideline/standard of practice of foreign references and acceptable standard transportation requirements which was primarily analyzed for the suitability in consistency of context. Team on synthesis research has drafted the guideline of telepharmacy and guidelines for pharmaceutical care. Summary of the guidelines was obtained according to the group discussions of stakeholders and opinions from pharmacists. In the second phase, the draft of data architecture for supporting the telepharmacy was conducted in accordance with information from phase I. Additional suggestions from stakeholders were obtained, prior to the summary of data architecture. Phase I study result provided the basic guideline for telepharmacy that was consisted of minimum dataset (composing of patients’ information, prescription, dispensing, pharmaceutical care service, and drug transportation); the basic guideline for telepharmacy (in which it contained 8 components i.e., location, customer service approach, information technology, transportation, etc.); and guidelines for pharmaceutical care (including prescription analysis and pre-dispensing for remote prescription, drug transportation, and remote counseling. The result of phase II study provided the draft of data architecture using HL7-FHIR for standard messaging and standardizing the database which contributes to the data exchange among organizations and leads further to better outcome in patient care. Finally, this study proposed the Pharmacy Council of Thailand to implement the guidelines, standard data set, and capacity building for community pharmacist on telepharmacy service.th_TH
dc.identifier.callnoQV737 จ533ก 2564
dc.identifier.contactno63-169
dc.subject.keywordเภสัชกรรมทางไกลth_TH
dc.subject.keywordTelepharmacyth_TH
dc.subject.keywordระบบบริการเภสัชกรรมทางไกลth_TH
dc.subject.keywordTelepharmacy Serviceth_TH
dc.subject.keywordสถาปัตยกรรมข้อมูลth_TH
dc.subject.keywordData Architectureth_TH
.custom.citationจิราพร ลิ้มปานานนท์, Jiraporn Limpananont, วรวิทย์ กิตติวงศ์สุนทร, Worawit Kittiwongsunthorn, รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์, Rungpetch Sakulbumrungsil, วิไลลักษณ์ ตันตะโยธิน, Wilailuck Tuntayothin, กุลวดี ศรีพานิชกุลชัย, Kunwadee Sripanidkulchai, นุศราพร เกษสมบูรณ์, Nusaraporn Kessomboon, มุกดาวรรณ ประกอบไวทยกิจ, Mukdavan Prakobvaitayakit, สิริลักษณ์ บัวเจริญ, Siriluk Buacharoen, อาทิตย์ สอดแสงอรุณงาม, Atit Sodsangaroonngam, ศิริรัตน์ ตันปิชาติ and Sirirat Tunpichart. "การพัฒนาแนวทางการดำเนินงานบริการเภสัชกรรมทางไกล (Telepharmacy) ในประเทศไทย." 2564. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5461">http://hdl.handle.net/11228/5461</a>.
.custom.total_download927
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month9
.custom.downloaded_this_year123
.custom.downloaded_fiscal_year15

Fulltext
Icon
Name: hs2738.pdf
Size: 5.667Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record