dc.contributor.author | วิเชษฐ์ สินประสิทธิ์กุล | th_TH |
dc.contributor.author | Wichet Sinprasitkul | th_TH |
dc.contributor.author | ธานี วรภัทร์ | th_TH |
dc.contributor.author | Thanee Vorapatr | th_TH |
dc.contributor.author | ไพโรจน์ บุญศิริคำชัย | th_TH |
dc.contributor.author | Pairoj Boonsirikumchai | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-06-27T10:18:31Z | |
dc.date.available | 2022-06-27T10:18:31Z | |
dc.date.issued | 2565-06 | |
dc.identifier.other | hs2820 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5613 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาปัญหาเกี่ยวกับการระงับข้อพิพาททางการแพทย์ที่เหมาะสมในประเทศไทย ปัจจุบันปัญหาระหว่างสังคมศาสตร์และวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์เป็นศาสตร์คนละศาสตร์ที่ต้องมาหาจุดร่วมกันที่จะหาทางออกเวลาเกิดข้อพิพาท คือ ข้อพิพาททางการแพทย์ ซึ่งแต่ละฝ่ายย่อมมีเหตุผลที่จะกล่าวอ้างว่าตนเองนั้นควรได้รับความยุติธรรมอย่างไรในกระบวนการพิสูจน์หรือทางออกของปัญหาเป็นอย่างไร จึงเป็นความน่าสนใจว่า ทางออกที่เหมาะสมสำหรับการระงับข้อพิพาททางการแพทย์ในประเทศไทยนั้นมีกระบวนการใดที่สามารถเป็นทางออกที่ดีได้ ส่วนวิธีการใดที่เหมาะสมที่สุดนั้นขึ้นอยู่กับสถานการณ์ต่างๆ ฉะนั้น จึงเป็นความน่าสนใจว่า วิธีการใดที่มีอยู่ในประเทศไทยนั้นควรพัฒนาหรือทำให้เกิดกระบวนการใดๆ เพิ่มเติมในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับข้อพิพาททางการแพทย์ในประเทศไทยที่ส่งผลกระทบในปัจจุบันอย่างมาก จึงศึกษาแนวทางความรับผิดทางแพ่ง ทางอาญาและแนวทางการพิจารณาคดีต่างๆ ที่เกี่ยวกับแพทย์ วิธีการการระงับข้อพิพาทต่างๆ ตัวอย่างคดีทางการแพทย์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย นำไปสู่การศึกษาหาวิธีการระงับข้อพิพาทโดยวิธีการประชุมกลุ่มย่อย 5 พื้นที่ คือ พื้นที่ภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแก่น พื้นที่ภาคกลาง จังหวัดพิษณุโลก พื้นที่ภาคใต้ จังหวัดสงขลา และกรุงเทพมหานคร เป็นจำนวนพื้นที่ละ 2 ครั้ง และสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์และสาธารณสุข เช่น แพทย์ พยาบาลฯลฯ และผู้ที่เคยประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ เป็นต้น ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย เช่น ผู้พิพากษาหรืออดีตผู้พิพากษา ข้าราชการหรือพนักงานศาลยุติธรรม พนักงานอัยการหรืออดีตพนักงานอัยการ ข้าราชการหรือพนักงานของสำนักงานอัยการสูงสุด ตำรวจหรืออดีตตำรวจ ข้าราชการหรือพนักงานของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ อาจารย์คณะนิติศาสตร์ของมหาวิทยาลัยต่างๆ และทนายความ เป็นต้น ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบหรืออาจจะได้รับผลกระทบจากความผิดพลาดทางการแพทย์ จนได้แนวทางและความคิดเห็นที่มานำเสนอเป็นแนวทางการระงับข้อพิพาททางการแพทย์ที่เหมาะสมในประเทศไทย ซึ่งได้ดำเนินการจนเห็นว่ากระบวนการที่สำคัญในการระงับข้อพิพาททางการแพทย์ยังคงเป็นกระบวนการไกล่เกลี่ยที่ต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562 และควรมีมาตรการทางกฎหมายให้มีการตั้งคณะกรรมการพิจารณาข้อเท็จจริงก่อนฟ้องคดีและในชั้นศาล เพื่อช่วยให้การพิสูจน์ข้อเท็จจริงทางคดีทางการแพทย์นั้นเป็นสิ่งที่ยอมรับได้จากทุกฝ่ายมากขึ้น | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | กฎหมาย | th_TH |
dc.subject | Law | th_TH |
dc.subject | Medical Errors | th_TH |
dc.subject | แพทย์กับผู้ป่วย | th_TH |
dc.subject | กฎหมายทางการแพทย์ | th_TH |
dc.subject | การร้องเรียน | th_TH |
dc.subject | บริการทางการแพทย์--ปัญหาและข้อพิพาท | th_TH |
dc.subject | แพทย์--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | th_TH |
dc.subject | พยาบาล--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | th_TH |
dc.subject | บุคลากรทางการแพทย์--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.subject | การระงับข้อพิพาท | th_TH |
dc.title | การศึกษาวิจัยเชิงวิเคราะห์สังเคราะห์สภาพปัญหาจากคำพิพากษาเกี่ยวกับคดีความผิดพลาดทางการแพทย์เพื่อนำไปสู่วิธีระงับข้อพิพาททางการแพทย์ที่เหมาะสมในประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Synthetic analytical research studies of judgments problems related to medical error cases to the appropriate methods of resolving medical disputes in Thailand | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to study the problem of appropriate medical dispute resolution in Thailand. The issue between the social sciences and the medical sciences is a different science that must come together to find a solution when a dispute arises, i.e., a medical conflict. Each party has reasons to claim how fair they should be received in the probation process. Or is there any way to solve the problem? It is, therefore, interesting that What is the proper procedure for resolving medical conflicts in Thailand? Which method is best depends on different situations. What are the ways in Thailand? Further steps should be developed or taken to resolve Thailand's most impacting medical disputes. Therefore, the study of civil liability guidelines Guidelines for criminal and judicial proceedings of various physicians Dispute Resolution Methods Examples of medical treatment cases in Thailand led to the study of dispute resolution methods through group meetings in 5 areas: the North, the Northeastern region of Chiang Mai; Khon Kaen Province central area Phitsanulok Province Southern area, Songkhla province and Bangkok 2 times per area and in-depth interviews with experts in the field of medicine and public health such as doctors, nurses, etc., and people who have practiced the medical profession. Legal professionals such as judges or former judges. A civil servant or an officer of the Court of Justice, a prosecutor or former public prosecutor, Government officials or employees of the Office of the Attorney General or former police government officials or employees of Police professors of law schools of various universities and lawyers, etc., who are affected or may be affected by medical errors. Until guidelines and opinions are presented to guide the resolution of appropriate medical disputes in Thailand. So far, the process of criticizing medical arguments remains a mediation process that must continuously develop according to Dispute mediation act, B.E. 2562 (2019). There should be legal measures to establish a committee. A pre-litigation committee and court to help prove the nature of a medical case that is more acceptable to all parties. | th_TH |
dc.identifier.callno | W85 ว558ก 2565 | |
dc.identifier.contactno | 64-062 | |
dc.subject.keyword | Medical Disputes | th_TH |
dc.subject.keyword | ข้อพิพาททางการแพทย์ | th_TH |
dc.subject.keyword | ความผิดพลาดทางการแพทย์ | th_TH |
dc.subject.keyword | Legal Measures | th_TH |
.custom.citation | วิเชษฐ์ สินประสิทธิ์กุล, Wichet Sinprasitkul, ธานี วรภัทร์, Thanee Vorapatr, ไพโรจน์ บุญศิริคำชัย and Pairoj Boonsirikumchai. "การศึกษาวิจัยเชิงวิเคราะห์สังเคราะห์สภาพปัญหาจากคำพิพากษาเกี่ยวกับคดีความผิดพลาดทางการแพทย์เพื่อนำไปสู่วิธีระงับข้อพิพาททางการแพทย์ที่เหมาะสมในประเทศไทย." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5613">http://hdl.handle.net/11228/5613</a>. | |
.custom.total_download | 32 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 1 | |
.custom.downloaded_this_year | 9 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 2 | |