dc.contributor.author | เมษ์ ศรีพัฒนาสกุล | th_TH |
dc.contributor.author | May Sripatanaskul | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-07-11T04:33:05Z | |
dc.date.available | 2022-07-11T04:33:05Z | |
dc.date.issued | 2565-05 | |
dc.identifier.other | hs2829 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5627 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยเรื่องการออกแบบการจ้างงานและสิทธิประโยชน์รูปแบบใหม่ที่ตอบสนองต่อความต้องการในอนาคต เพื่อสร้างแรงจูงใจของกำลังคนสุขภาพภาครัฐ เป็นงานวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทางเลือกรูปแบบการจ้างงานและสิทธิประโยชน์ใหม่ๆ สำหรับวิชาชีพสุขภาพ และเพื่อศึกษาปัจจัยเชิงลึกที่ส่งผลต่อความต้องการเข้ามาทำงานหรือคงอยู่ในระบบราชการ เป็นการวิจัยที่นำกระบวนการคิดเชิงออกแบบเข้ามาใช้เป็นกรอบแนวคิดในการดำเนินการวิจัย มีกลุ่มเป้าหมายของงานวิจัย คือ บุคลากรสุขภาพ 4 วิชาชีพหลัก ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกรและพยาบาล และกลุ่มผู้ใช้บุคลากรหรือผู้ควบคุมการทำงานของบุคลากรสุขภาพ 4 วิชาชีพหลัก ตลอดจนกลุ่มผู้ที่คิดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับระบบสาธารณสุข ผลการศึกษาทำให้ได้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 5 ประเด็น ดังนี้ 1. จ้างงานรูปแบบยืดหยุ่น: เพิ่มตัวเลือกการจ้างงานไม่ประจำและยืดหยุ่นในโรงพยาบาลรัฐ 2. จ้างงานนอกเวลาแบบเอกชน: เพิ่มรูปแบบการจ้างงานบุคลากรแบบเอกชนในการให้บริการนอกเวลา 3. จ้างงานผ่านเขตสุขภาพ: เปลี่ยนผู้จ้างบุคลากรสาขาเฉพาะทางเป็นเขตสุขภาพแทนโรงพยาบาล 4. จ้างงานผ่านหน่วยบริการนอกระบบของรัฐ: ขยายการอุดหนุนงบประมาณด้านสาธารณสุขไปที่หน่วยบริการเอกชนด้วย และ 5. ปรับงบประมาณจ้างงาน: ปรับเปลี่ยนการให้งบการจ้างบุคลากรในโรงพยาบาล จากงบรายหัวเป็นเงินงบประมาณ ผู้วิจัยได้เสนอแนะในตอนท้ายของการวิจัยว่าผลการศึกษาจากโครงการวิจัยนี้ สามารถเริ่มต้นทำได้ในรูปแบบของพื้นที่ทดลองกฎระเบียบ (Regulatory Sandbox) เพื่อให้ผู้กำหนดนโยบายสามารถรวบรวมข้อเสนอแนะและใช้ประโยชน์จากการเรียนรู้เพื่อแก้ไขและทำซ้ำแผนงานและแบบจำลองที่มีประสิทธิภาพในบริบทที่ใหญ่ขึ้นต่อไปในอนาคต | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | การจ้างงาน | th_TH |
dc.subject | Employment | th_TH |
dc.subject | กำลังคนด้านสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | บุคลากรทางการแพทย์ | th_TH |
dc.subject | Medical Personnel | th_TH |
dc.subject | Health Manpower | th_TH |
dc.subject | Health Worker | th_TH |
dc.subject | Health Workforce | th_TH |
dc.subject | แพทย์ | th_TH |
dc.subject | Physicians | th_TH |
dc.subject | ทันตแพทย์ | th_TH |
dc.subject | Dentists | th_TH |
dc.subject | เภสัชกร | th_TH |
dc.subject | Pharmacists | th_TH |
dc.subject | พยาบาลวิชาชีพ | th_TH |
dc.subject | Professional Nurses | th_TH |
dc.subject | พยาบาล | th_TH |
dc.subject | Nurses | th_TH |
dc.subject | Health Policy | th_TH |
dc.subject | นโยบายสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.title | การออกแบบการจ้างงานและสิทธิประโยชน์รูปแบบใหม่ที่ตอบสนองต่อความต้องการในอนาคตเพื่อสร้างแรงจูงใจของกำลังคนสุขภาพภาครัฐ | th_TH |
dc.title.alternative | Human-Centered Design Research Project to Redesign Employment Model and Benefits for Future Health Personnel Workforce | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research focuses on redesigning employment models and employment benefits in order to retain civil servant healthcare workforce. The research leverages the process of design thinking or human-centered design as a methodology. The target users of the redesign exercise in this research are 1. physicians, 2. dentists, 3. pharmacists, and 4. nurses. Taking into consideration the systems perspective of this research, the research team has also involved employers and relevant policy makers throughout the process. Starting with in-depth interviews of the stakeholders, the research team has come up with five potential employment models for further adjustment and consideration in employing future civil servant healthcare workforce. The five models are: 1. Flexible employment scheme: providing a more flexible part-time positions for healthcare workforce in city hospitals 2. Part-time employment with private sector benefits: providing private sector employment and benefits for healthcare workforce outside the civil service working hours 3. Employment through healthcare districts: providing more flexibility in handling healthcare workforce and resources by shifting the employer role from the hospitals or healthcare centers to the healthcare districts 4. Employment through non-government health units: extending civil servant health employment to cover employment in selected non-government health units, and 5. Redesigning employment restriction: allowing employers to manager their own lumpsum funds rather than strictly allocating the fund per head The research team recommends that a healthcare regulatory sandbox should be set up to design and test some of the proposed redesigning of the employment schemes so policymakers can gather feedback and leverage on the learning to revise and replicate effective schemes and models in a larger context. | th_TH |
dc.identifier.callno | W76 ม768ก 2565 | |
dc.identifier.contactno | 64-037 | |
dc.subject.keyword | กำลังคนด้านสุขภาพ | th_TH |
dc.subject.keyword | Healthcare Workers | th_TH |
.custom.citation | เมษ์ ศรีพัฒนาสกุล and May Sripatanaskul. "การออกแบบการจ้างงานและสิทธิประโยชน์รูปแบบใหม่ที่ตอบสนองต่อความต้องการในอนาคตเพื่อสร้างแรงจูงใจของกำลังคนสุขภาพภาครัฐ." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5627">http://hdl.handle.net/11228/5627</a>. | |
.custom.total_download | 52 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 11 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 0 | |