dc.contributor.author | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ | th_TH |
dc.contributor.author | Health Systems Research Institute. Institute for the Development of Human Research Protections | th_TH |
dc.contributor.editor | วิชัย โชควิวัฒน | th_TH |
dc.contributor.editor | Vichai Chokevivat | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-07-12T08:53:58Z | |
dc.date.available | 2022-07-12T08:53:58Z | |
dc.date.issued | 2564 | |
dc.identifier.isbn | 9789742992613 | |
dc.identifier.other | hs2825 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5632 | |
dc.description.abstract | หลังจากหนังสือ "จริยธรรมการวิจัยในนุษย์" เล่มแรกตีพิมพ์เผยแพร่เมื่อเดือนสิงหาคม 2560 ผู้เขียนได้แปลเอกสารสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์อีก 3 ฉบับ ได้แก่ 1) แนวทางจริยธรรมสากลสำหรับการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพในมนุษย์ พ ศ. 2559 ซึ่งเป็นแนวทางฉบับปรับปรุงใหม่ของสภาองค์การสากลด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2) แนวทางจริยธรรมสำหรับการศึกษาวิจัยทางระบาดวิทยา ฉบับ พ.ศ. 2552 ของสภาองค์การสากลด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ และ 3) นโยบายและวิธีการดำเนินงานแผนงานคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ของศูนย์การแพทย์บอสตัน และวิทยาเขตแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยบอสตัน ซึ่งเอกสาร 2 ฉบับแรกเป็นแนวทางจริยธรรมการวิจัยสากลที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางทั่วโลก รวมทั้งในประเทศไทย ฉบับที่ 3 เป็นวิธีดำเนินงานของมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก ที่มีรายละเอียดวิธีการปฏิบัติเพื่อให้สามารถคุ้มครองผู้เข้าร่วมวิจัยได้อย่างมีประสิทธิผลและมีคุณภาพ แม้เป็นวิธีดำเนินงานเฉพาะของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง แต่สามารถเป็นแบบอย่างที่สถาบันต่างๆ สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างดี เอกสารทั้ง 3 ฉบับนี้ ยังมีการเผยแพร่ในวงจำกัด สมควรจัดพิมพ์ขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์สำหรับประเทศไทยให้เจริญก้าวหน้าทัดเทียมนานาอารยประเทศต่อไป เอกสารนี้ได้มีความพยายามในการแปลและแก้ไขหลายรอบ แต่ย่อมยังมีข้อบกพร่องให้ต้องปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้อง ชัดเจน และอ่านง่ายยิ่งๆ ขึ้นไป ขอน้อมรับคำแนะนำติชมด้วยความเคารพและขอขอบคุณล่วงหน้ามา ณ ที่นี้ อนึ่ง เพื่อประโยชน์ในการอ้างอิง ได้นำคำแปลปฏิญญาเฮลซิงกิมารวมพิมพ์ไว้ด้วย เนื่องจากเป็นแนวทางสากลหลักที่มีการอ้างอิงอยู่เสมอ และสำหรับหนังสือ “จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์” เล่มแรกนั้น ได้จัดพิมพ์และเผยแพร่โดยสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) สามารถดาวน์โหลดไฟล์หนังสือได้ที่ลิงก์ https://www.nationalhealth.or.th/en/node/1996 | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | วิจัย | th_TH |
dc.subject | Research | th_TH |
dc.subject | การแพทย์--วิจัย | th_TH |
dc.subject | Medicine--Research | th_TH |
dc.subject | การวิจัยทางสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | การวิจัยด้านสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | จริยธรรม--การวิจัย | th_TH |
dc.subject | วิจัย--แง่ศีลธรรมจรรยา | th_TH |
dc.subject | วิจัย--จรรยาบรรณ | th_TH |
dc.subject | การทดลองในมนุษย์ | th_TH |
dc.subject | แพทยศาสตร์--การทดลอง | th_TH |
dc.subject | Clinical Trials | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.title | จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ (2) | th_TH |
dc.type | Document | th_TH |
dc.identifier.callno | W20.55 ว539จ 2564 | |
dc.subject.keyword | การวิจัยในมนุษย์ | th_TH |
.custom.citation | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ and Health Systems Research Institute. Institute for the Development of Human Research Protections. "จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ (2)." 2564. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5632">http://hdl.handle.net/11228/5632</a>. | |
.custom.total_download | 33 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 4 | |
.custom.downloaded_this_year | 12 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 4 | |