dc.contributor.author | สุภาภรณ์ วรอรุณ | th_TH |
dc.contributor.author | Supaporn Voraroon | th_TH |
dc.contributor.author | ณัฎฐวรรณ คำแสน | th_TH |
dc.contributor.author | Natawan Khumsaen | th_TH |
dc.contributor.author | ศิริพร ชุดเจือจีน | th_TH |
dc.contributor.author | Siriporn Chudjuajeen | th_TH |
dc.contributor.author | สุพรรณี เปี้ยวนาลาว | th_TH |
dc.contributor.author | Supannee Peawnalaw | th_TH |
dc.contributor.author | อุมากร ใจยั่งยืน | th_TH |
dc.contributor.author | Umakorn Jaiyungyuen | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-07-26T04:37:12Z | |
dc.date.available | 2022-07-26T04:37:12Z | |
dc.date.issued | 2565-06 | |
dc.identifier.other | hs2826 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5685 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative research) ใช้วิธีวิจัยเชิงปรากฏการณ์วิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการบริการรักษาพยาบาลและประสบการณ์ต่อการติดตามการรักษาการติดเชื้อเอชไอวีสำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ในช่วงเวลาก่อนการระบาดและช่วงที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อโควิด 19 ของแพทย์ พยาบาลและผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ในเขตบริการสุขภาพที่ 5 เก็บข้อมูลจากการศึกษาปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นโดยตรงจากผู้ให้บริการและผู้รับบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ จำแนกออกเป็น 4 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ 2) กลุ่มแพทย์ผู้ให้การรักษา 3) กลุ่มพยาบาลที่ให้การดูแล และ 4) กลุ่มผู้บริหารและ/หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมจำนวน 34 คน ใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเล่าเรื่องและสัมภาษณ์แบบกลุ่ม เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า ประสบการณ์ ความหมาย การรับรู้ในด้านการจัดรูปแบบการบริการที่ยืดหยุ่นในช่วงเวลาปกติและช่วงมีการระบาดของโรคติดเชื้อโควิด 19 พบว่า ช่วงระยะ 1 ก่อนการระบาด การจัดบริการรักษาพยาบาลในช่วงก่อนโควิด มีการใช้รูปแบบการรักษาพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับประเด็นหลักที่ 1 (Theme 1) แผนการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาล โดยผู้ป่วยผ่านขั้นตอนตามแผนการรักษาครบถ้วนทุกขั้นตอน ประเมินจากอาการของผู้ป่วยว่ามีความคงที่ควบคุมได้และพบแพทย์ตามนัด ประเด็นหลักที่ 2 (Theme 2) แผนการรักษาพยาบาลที่ผู้ป่วยรับบริการรักษานอกโรงพยาบาล คือการตัดสินใจร่วมกันในการเลือกรักษาพยาบาล โดยผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง ช่วงระยะที่ 2 ช่วงระบาดของโรคติดเชื้อโควิด 19 พบว่า รูปแบบการรักษาพยาบาลมีการปรับให้เกิดความยืดหยุ่นโดย 1. (Theme 1) เป็นการจัดบริการรักษาพยาบาลแบบวิถีใหม่ ปรับการบริการรับมือต่อการเกิดการแพร่ระบาดของโรคที่ใช้ความยืดหยุ่น ติดตามการรักษาที่เน้นความเหมาะสมและต่อเนื่อง โดย 1.1 มีการปรับลดขั้นตอนการให้บริการ 1.2 มีการจัดกลุ่มผู้ป่วยหมุนเวียนรับบริการ 1.3 มีการใช้ทางเลือกในการรับยา และ 1.4 มีการปรับสภาพแวดล้อมการให้บริการ ทั้งนี้คุณภาพชีวิตของผู้รับบริการยังคงไม่มีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม เพียงแต่เพิ่มมาตรการป้องกันตนเองมากขึ้น 2. (Theme 2) รูปแบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม เน้นกระบวนการ 2.1 การสื่อสารสร้างความเข้าใจ โดยเป็นการดำเนินงานทำความเข้าใจระหว่างทีมสุขภาพเองและร่วมกับผู้รับบริการเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อโควิด 19 และ 2.2 การทำงานแบบเครือข่าย และแนวปฏิบัติสำหรับการจัดบริการสำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ 3. (Theme 3) ปัจจัยเอื้อให้เกิดความสำเร็จของการจัดบริการรักษาพยาบาลเป็นปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดการจัดการบริการที่ดี เกี่ยวข้องกับ 3.1. ความมุ่งมั่นในการทำงานของทีมงานที่ให้บริการที่จะต้องการพัฒนาคุณภาพการบริการอันเกิดประโยชน์ต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ 3.2 การสนับสนุนของผู้บริหาร และ 3.3 ความตระหนักในการดูแลตนเองของผู้รับบริการ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | ผู้ติดเชื้อเอชไอวี | th_TH |
dc.subject | ผู้ป่วยเอดส์ | th_TH |
dc.subject | HIV/AIDS | th_TH |
dc.subject | COVID-19 (Disease) | th_TH |
dc.subject | โควิด-19 (โรค) | th_TH |
dc.subject | โควิด-19 (โรค)--การป้องกันและควบคุม | th_TH |
dc.subject | Coronaviruses | th_TH |
dc.subject | ไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.subject | Coronavirus Infections | th_TH |
dc.subject | การติดเชื้อไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Health Service System | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Health Care System | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.title | รูปแบบการบริการรักษาพยาบาลและประสบการณ์ต่อการติดตามการรักษาการติดเชื้อเอชไอวีสำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ในช่วงเวลาก่อนการระบาดและช่วงที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อโควิด 19 ของแพทย์ พยาบาลและผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ในเขตบริการสุขภาพที่ 5 | th_TH |
dc.title.alternative | Health Service Model and Experiences Towards HIV/AIDS Health Care Follow Up in Pre-and During COVID-19 Pandemic Among Infectious Disease Physicians, Nurses, and People Living with HIV/AIDS in the 5th Health Service Region | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This qualitative study employed a phenomenological approach and aimed to understand experiences towards HIV/AIDS medical and nursing service during the COVID-19 pandemic among people living with HIV (PLHIV), and healthcare providers. This study also explored medical and nursing service model of HIV/AIDS follow-up during the COVID-19 pandemic. Narrative interview and group interviews were conducted among 34 participants (14 health providers (nurses, pharmacists, and public health workers), 14 PLHIV, and 6 physicians) from April 2021 to February 2022 in the hospitals of the 5th health service region, Thailand. Interviews were audio-recorded, transcribed verbatim, coded for themes and sub-themes, and analyzed using a phenomenological approach for thematic content analysis The finding was showed medical treatment in HIV-AIDS patients before the COVID-19 epidemic period. These are included a medical treatment plan in the hospital and an Out-of-hospital care plans. A medical treatment plan in the hospital is a primarily assessed from the patient's symptoms which are included patient who has an unstable or uncontrol symptoms and require a close supervision for further assessment. In addition, patients who need a follow-up appointments or clinical visits should be assessed for a period of time, such as physical examination, blood tests and other necessity examinations. An Out-of-hospital care plan is a treatment that joint decision between service providers and patient and focused in patient centered care. The finding was showed medical treatment in HIV-AIDS patients in the COVID-19 epidemic period. The result revealed that there were three primary themes, including: (1) new normal in HIV/AIDS medical and nursing service during the COVID-19 pandemic, (2) participative management of HIV/AIDS medical and nursing service during the COVID-19, and (3) factors contributing to succeed of HIV/AIDS medical and nursing service delivery. In theme 1, interview data revealed four subthemes pertaining to new normal of HIV/AIDS medical and nursing service during the COVID-19 pandemic: (1) reducing HIV/AIDS medical and nursing service step, (2) rotation of PLHIV group service, (3) using alternative methods to get medications during the COVID-19 pandemic, and (4) modification of HIV/AIDS medical and nursing service environment. During the COVID-19 pandemic, the participants stated that their quality of life has not changed. Additionally, the COVID-19 prevention measures (i.e., wearing face mask, hand washing, and avoiding crowded places) were extremely practiced. In theme 2, interview data demonstrated two subthemes regarding participative management of HIV/AIDS medical and nursing service during the COVID-19: (1) communication within the organization to reach mutual understanding, and (2) networking. In theme 3, interview data demonstrated three subthemes regarding factors contributing to succeed of HIV/AIDS medical and nursing service delivery: (1) effort of team members to deliver excellent service, (2) administrator’s support, and (3) awareness of self-management among clients. This study provides a backdrop for the implementation of nursing interventions that will be designed to reshape flexible medical and nursing service for Thai PLHIV during the COVID-19 pandemic. | th_TH |
dc.identifier.callno | WC503 ส837ร 2565 | |
dc.identifier.contactno | 64-035 | |
dc.subject.keyword | เขตสุขภาพ | th_TH |
dc.subject.keyword | Regional Health Area | th_TH |
dc.subject.keyword | เขตสุขภาพที่ 5 | th_TH |
dc.subject.keyword | Regional Health Area 5 | th_TH |
.custom.citation | สุภาภรณ์ วรอรุณ, Supaporn Voraroon, ณัฎฐวรรณ คำแสน, Natawan Khumsaen, ศิริพร ชุดเจือจีน, Siriporn Chudjuajeen, สุพรรณี เปี้ยวนาลาว, Supannee Peawnalaw, อุมากร ใจยั่งยืน and Umakorn Jaiyungyuen. "รูปแบบการบริการรักษาพยาบาลและประสบการณ์ต่อการติดตามการรักษาการติดเชื้อเอชไอวีสำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ในช่วงเวลาก่อนการระบาดและช่วงที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อโควิด 19 ของแพทย์ พยาบาลและผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ในเขตบริการสุขภาพที่ 5." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5685">http://hdl.handle.net/11228/5685</a>. | |
.custom.total_download | 76 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 14 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 1 | |