แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ปัญญาประดิษฐ์กับความเป็นธรรมทางสุขภาพและสังคม

dc.contributor.authorปิยณัฐ ประถมวงษ์th_TH
dc.contributor.authorPiyanat Prathomwongth_TH
dc.contributor.authorปกรณ์ สิงห์สุริยาth_TH
dc.contributor.authorPagorn Singsuriyath_TH
dc.date.accessioned2022-08-08T02:53:13Z
dc.date.available2022-08-08T02:53:13Z
dc.date.issued2565-07
dc.identifier.otherhs2845
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5697
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวคิดและกรอบการวิจัยเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์กับความเป็นธรรมทางสุขภาพและสังคม และเพื่อเสนอวาระวิจัยที่จะตอบสนองการวิจัยในระยะยาวเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าว งานวิจัยนี้เก็บข้อมูลจากการศึกษาเอกสารและการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการแบบสหวิทยาการ ข้อมูลจากการศึกษาเอกสารเป็นพื้นฐานการพัฒนากรอบแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์กับความเป็นธรรมทางสุขภาพและสังคม ซึ่งนำมาพัฒนาต่อโดยอาศัยข้อมูลจากการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อให้เป็นกรอบแนวคิดสำหรับวิเคราะห์วาระการวิจัย การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการมีทั้งหมด 3 ครั้ง ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งหมด 27 คน จากสาขาปรัชญาและจริยศาสตร์ เทคโนโลยี กฎหมาย สังคมวิทยา สิ่งแวดล้อมและการพัฒนา วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ วิศวกรรมชีวการแพทย์ ชีววิทยาศาสตร์และสารสนเทศชีวการแพทย์ ผลการศึกษาทำให้ได้กรอบแนวคิดสำหรับวิเคราะห์ประเด็นและวาระการวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์กับความเป็นธรรมทางสุขภาพและสังคม กรอบแนวคิดดังกล่าวประกอบด้วยหลักการทั่วไปและหลักการสำหรับการบริหารจัดการ หลักการทั่วไปประกอบด้วย หลักการเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ หลักความยุติธรรม หลักการหลีกเลี่ยงอันตรายและหลักการสร้างประโยชน์ หลักการสำหรับการบริหารเชื่อมโยงและสนับสนุนการนำหลักการทั่วไปมาใช้ นอกจากนี้ มีการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลจากการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการผ่านกรอบแนวคิดที่ได้เพื่อนำเสนอวาระวิจัยที่ตอบสนองการวิจัยในระยะยาว ได้แก่ ก) การศึกษาปัจจัยด้านธรรมชาติของความเป็นมนุษย์และวัฒนธรรมมนุษย์ที่มีอิทธิพลต่อประเด็นเรื่องความเป็นธรรมของเทคโนโลยีดิจิทัลและปัญญาประดิษฐ์ ข) การพัฒนาศักยภาพของประชาชน และ ค) กรอบการทำงานสำหรับพัฒนานโยบายและแนวทางการทำงานเพื่อการพัฒนาและประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์เพื่อส่งเสริมความเป็นธรรมทางสุขภาพth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectArtificial Intelligenceth_TH
dc.subjectปัญญาประดิษฐ์th_TH
dc.subjectMachine Learningth_TH
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์th_TH
dc.subjectApplication Softwareth_TH
dc.subjectEqualityth_TH
dc.subjectความเท่าเทียมth_TH
dc.subjectEquality--Health Aspectsth_TH
dc.subjectHealth--Social Aspectsth_TH
dc.subjectHealth Equityth_TH
dc.subjectSocial Justiceth_TH
dc.subjectความยุติธรรมทางสังคมth_TH
dc.subjectHealth--Managementth_TH
dc.subjectการจัดการด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleปัญญาประดิษฐ์กับความเป็นธรรมทางสุขภาพและสังคมth_TH
dc.title.alternativeArtificial Intelligence and Health and Social Equityth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to develop a concept and basic framework for research regarding a topic of artificial intelligence technology, and health and social equity; and to propose research agendas in response to long-term research on the topic. Data were collected from documents and multi-disciplinary workshops. The documentary data provided a basis for development of a basic conceptual framework regarding artificial intelligence technology, and health and social equity. Subjected to further development based on data from the workshops, the framework was applicable to research agenda analysis. Three workshops were organized comprising a total of 27 experts from the fields of philosophy and ethics in technology, laws, sociology, environment and development, computer science, bio-medical engineering, bio-science, and bio-medical information technology. From the study, a framework was obtained for analyzing issues and research agendas regarding a topic of artificial intelligence technology, and health and social equity. The framework consists of general and management principles. The general principles include respect for human dignity, justice, non-maleficence, and beneficence. The management principles are connected to and serve implementation of the general principles. In addition, the data from the workshops were analyzed through the framework and synthesized to form agendas for long-term research. These agendas are (a) research on factors from human nature and culture influencing equity in digital technology and artificial intelligence; (b) development of citizens' competencies related to digital technology and artificial intelligence; and (c) development of frameworks for policy development and implementation to develop and apply artificial intelligence to promote health equity.th_TH
dc.identifier.callnoHT609 ป618ป 2565
dc.identifier.contactno63-036
dc.subject.keywordDeep Learningth_TH
dc.subject.keywordความเป็นธรรมทางสุขภาพth_TH
.custom.citationปิยณัฐ ประถมวงษ์, Piyanat Prathomwong, ปกรณ์ สิงห์สุริยา and Pagorn Singsuriya. "ปัญญาประดิษฐ์กับความเป็นธรรมทางสุขภาพและสังคม." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5697">http://hdl.handle.net/11228/5697</a>.
.custom.total_download48
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year19
.custom.downloaded_fiscal_year2

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2845.pdf
ขนาด: 2.087Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย