Show simple item record

Analyses of Immune Responses in Resolved Coronavirus Diseases 2019 (COVID-19) Patients and in Volunteers Who have High Risk Exposure to the Patients

dc.contributor.authorปกรัฐ หังสสูตth_TH
dc.contributor.authorPokrath Hansasutath_TH
dc.contributor.authorภาวพันธ์ ภัทรโกศลth_TH
dc.contributor.authorParvapan Bhattarakosolth_TH
dc.contributor.authorเอกสิทธิ์ โกวิทย์ดำรงค์th_TH
dc.contributor.authorEkasit Kowitdamrongth_TH
dc.contributor.authorญาดา ตันสิริth_TH
dc.contributor.authorYada Tansirith_TH
dc.date.accessioned2022-08-10T04:07:20Z
dc.date.available2022-08-10T04:07:20Z
dc.date.issued2565-05
dc.identifier.otherhs2849
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5703
dc.description.abstractเนื่องจากยังไม่มีการศึกษาวิจัยในประเทศไทยถึงการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ SARS-CoV-2 ในผู้กำลังติดเชื้อโรค COVID-19 และผู้ใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงสูง งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ในการศึกษาการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันผ่านการสร้างแอนติบอดี (humoral immune responses) และการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันผ่านทีเซลล์ (cell-mediated immune responses) เพื่อใช้ข้อมูลการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันในการพัฒนาวัคซีนสำหรับโรค COVID-19 ที่เกิดจากการติดเชื้อ SARS-CoV-2 และการผลิต monoclonal antibody เพื่อใช้ในการรักษาการติดเชื้อ ทดแทนการใช้แอนติบอดีที่ได้จาก convalescent plasma ซึ่งมีความเสี่ยงสูงในการใช้กับผู้ป่วย รวมทั้งการศึกษาการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันผ่านการสร้างแอนติบอดีในผู้ที่ได้รับการฉีดวัคซีนชนิดเชื้อตายและชนิด viral vector เนื่องจากในขณะนี้มีผู้ที่เริ่มได้รับการฉีดวัคซีนเป็นจำนวนมาก การศึกษาการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันหลังการได้รับวัคซีนจึงเป็นสิ่งที่สำคัญและควรทำโดยเร็ว ในด้านการวิเคราะห์การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันผ่านทีเซลล์ทำให้มีข้อมูลเพิ่มเติมในการศึกษาการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน จากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า การวัดปริมาณของ total antibody ต่อส่วน Spike ด้วยวิธี ELISA เป็นวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการศึกษาที่มีอาสาสมัครจำนวนมาก ซึ่งการตรวจ neutralizing antibody แม้ว่าจะให้ผลที่สอดคล้องกับการศึกษาความสามารถของภูมิคุ้มกันในการป้องกันการติดเชื้อได้ดีกว่า แต่วิธีการทำมีความยุ่งยากมากกว่า ราคาที่แพงกว่าถึงสี่เท่า ส่วนการตรวจการตอบสนองของภูมิคุ้มกันผ่านทีเซลล์หรือ cell-mediated immunity ด้วยวิธี ELISpot นั้น ไม่สามารถทำได้ในผู้ที่ได้รับวัคซีนชนิดเชื้อตาย ในการใช้วิธี ELISpot เพื่อศึกษาการตอบสนองของทีเซลล์ในกลุ่มผู้ติดเชื้อสามารถใช้เปปไทด์ต่อส่วน nucleoprotein ได้และในผู้ที่ได้รับวัคซีนชนิด viral vector สามารถใช้เปปไทด์ต่อส่วน Spike ในการศึกษาแบบ screening ได้โดยไม่จำเป็นต้องใช้เปปไทด์ต่อทุกชิ้นส่วนของไวรัส งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ในการศึกษาการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ SARS-CoV-2 โดยวัดการสร้างแอนติบอดีในอาสาสมัครที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อ SARS-CoV-2 เพื่อหา seroprevalence rate พบว่า ตรวจไม่พบการสร้างแอนติบอดีจากอาสาสมัครกลุ่มนี้ อาจเนื่องจากการอยู่ใกล้ชิดกับผู้ติดเชื้อแต่ไม่ได้รับเชื้อ จึงไม่เกิดการกระตุ้นภูมิคุ้มกันต่อไวรัส และการศึกษาถึง kinetic ของการสร้างแอนติบอดีต่อเชื้อ SARS-CoV-2 ในผู้ที่ได้รับวัคซีนชนิดเชื้อตาย พบว่า เมื่อระยะเวลาผ่านไปหลังจากการได้รับวัคซีนเข็มที่สอง ปริมาณแอนติบอดีที่ได้จากการฉีดวัคซีนลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทำให้ต้องตระหนักถึงการฉีดวัคซีนเข็มต่อไปที่เป็น booster เพื่อให้มีการสร้างแอนติบอดีได้เพียงพอในการป้องกันการติดเชื้อ เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณแอนติบอดีที่ได้รับจากการฉีดวัคซีนชนิด viral vector จะพบว่า ปริมาณแอนติบอดีที่ได้จากการฉีดวัคซีนชนิด viral vector สูงกว่าปริมาณแอนติบอดีที่ได้จากการฉีดวัคซีนชนิดเชื้อตาย ผลผลิต (output) ที่ได้จากงานวิจัยนี้คือผลการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ SARS-CoV-2 ในผู้ที่กำลังติดเชื้อ ผู้ใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงสูง ผู้ได้รับวัคซีนชนิดเชื้อตายและผู้ได้รับวัคซีนชนิด viral vector โดยพบว่า สามารถใช้ผลการศึกษาของการวิเคราะห์แอนติบอดีเป็นแนวทางในการตรวจภูมิคุ้มกันและการแนะนำการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันหรือควบคุมโรค COVID-19 ซึ่งจะนำไปสู่ผลของความสำเร็จที่เป็นผลลัพธ์ (outcome) และผลกระทบ (impact) ได้ ในด้านนโยบาย ผลการศึกษานี้สามารถใช้ในการตัดสินใจเชิงนโยบายสำหรับการเข้มงวดหรือผ่อนคลายมาตรการป้องกันการระบาดของโรคโควิด-19 โดยแนะนำให้มีการรับวัคซีนเพิ่มเติมในผู้ที่ได้รับวัคซีนชนิดเชื้อตาย ซึ่งอาจให้วัคซีนที่เป็นชนิด viral vector ได้ จากผลการวิเคราะห์ปริมาณแอนติบอดีในผู้ที่ได้รับวัคซีนชนิด viral vector ที่สูงมากกว่าผู้ที่ได้รับวัคซีนเชื้อตาย รวมทั้งความสามารถในการกระตุ้นการตอบสนองของทีเซลล์ได้ในผู้ที่ได้รับวัคซีนชนิด viral vector เพื่อให้นโยบายด้านการป้องกันการติดเชื้อและป้องกันการแพร่ระบาดเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในด้านสาธารณะ โครงการวิจัยนี้ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเรื่องภูมิคุ้มกันของร่างกายต่อการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโควิด-19 จากผลการวิเคราะห์การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันผ่านการสร้างแอนติบอดี (humoral immune responses) และการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันผ่านทีเซลล์ (cell-mediated immune responses) ในด้านพาณิชย์ ผลงานนี้สามารถพัฒนาเป็นชุดตรวจเพื่อใช้ผ่อนคลายมาตรการป้องกันการระบาดโรคโควิด-19 หรือต้นแบบวัคซีนได้ในอนาคต และในด้านวิชาการ สามารถใช้ผลการศึกษานี้เพื่อความเข้าใจในภูมิคุ้มกันของร่างกายต่อการติดเชื้อไวรัสที่ก่อให้เกิดโรคติดเชื้อโควิด-19 และเป็นพื้นฐานสำหรับการพัฒนาตลอดจนทดสอบวัคซีนth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectวัคซีนth_TH
dc.subjectVaccinesth_TH
dc.subjectวัคซีนโควิด-19th_TH
dc.subjectCOVID-19 Vaccinesth_TH
dc.subjectเซลล์th_TH
dc.subjectCellth_TH
dc.subjectโมเลกุลth_TH
dc.subjectMoleculesth_TH
dc.subjectโมเลกุล--การวิเคราะห์th_TH
dc.subjectMolecules--Analysisth_TH
dc.subjectSARS-CoV-2th_TH
dc.subjectAntibodyth_TH
dc.subjectImmunityth_TH
dc.subjectภูมิคุ้มกันth_TH
dc.subjectImmune Systemth_TH
dc.subjectระบบภูมิคุ้มกันth_TH
dc.subjectภูมิคุ้มกันวิทยาth_TH
dc.subjectImmunologyth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)--การตรวจวิเคราะห์th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectCOVID-19--Prevention and Controlth_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectCoronavirus Infectionsth_TH
dc.subjectการติดเชื้อไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการศึกษาภูมิคุ้มกันในผู้ที่หายและผู้ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อจากโรคโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ (โควิด-19)th_TH
dc.title.alternativeAnalyses of Immune Responses in Resolved Coronavirus Diseases 2019 (COVID-19) Patients and in Volunteers Who have High Risk Exposure to the Patientsth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeSince COVID-19 situation in Thailand, there is no research study of the immune responses to SARS-CoV-2 among the active COVID-19 patients and their high-risk closed-contacts individuals. The aim of this project was to study the antibody production (humoral immune responses) and the immune response mediated by T cells (cell-mediated immune responses) specific to SARS-CoV-2. The results of this study can be used as the knowledge for vaccine development for COVID-19 and the production of a monoclonal antibody for the treatment of infection in stead of using plasma-derived antibodies from the convalescent patients. Moreover, this project has evaluated the antibody production in the individuals who received the inactivated vaccine and viral vector vaccine. During that period, most of the Thai population have been vaccinated with the inactivated vaccine. The knowledge of immune responses from the inactivated vaccine is in need and should be studied as fast as possible. The results from this study showed that the best suitable technique for evaluating the immune responses among many participants is the determination of total antibody specific to spike protein by using ELISA assay. Although the detection of neutralizing antibody is better for evaluation of the protection against SARS-CoV-2 infection, this technique is expensive and low in the feasibility in lab. As for the evaluation of T-cell mediated immune responses by using ELISpot assay, this test cannot be used to evaluated T-cell responses in the individuals who received the inactivated vaccine. We found that the determination of T-cell responses among individuals who got infected with SARS-CoV-2 and individuals who received the viral vector vaccine should be stimulated with peptide from nucleoprotein and spike for ELISpot assay, respectively which does not need to use the whole protein for evaluating T-cell responses by this technique. This project provides the information of the seroprevalence among the high-risk closed-contacts individuals but not getting infected by evaluating the antibody production. We found that the seroprevalence rate among these participants is zero. Although they were identified as the closed contact, but they may not get the viral transmission, so they do not have any antigen to stimulate the immune responses. For the evaluation of the kinetics of antibody production in the individuals who received 2 doses of the inactivated vaccine, the results showed that the level of total antibody is significantly decreased after receiving the 2nd dose for a month. This could be used in the policy for providing the booster dose to them since, the gradually decrease in the antibody would not be enough to fight against SARS-CoV-2 transmission. When compared the antibody level to the individuals who received viral vector vaccine, it revealed that the viral vector vaccine is able to stimulate the higher level of antibody than the inactivated vaccine. The output obtained from this study is the knowledge of the immune response to SARS-CoV-2 in the active COVID-19 patients, the closed-contact individuals, individuals receiving the inactivated vaccine and individuals receiving the viral vector vaccine. As for the outcome and the impact, we found that the determination of the total antibody to spike is suitable for using as a test for screening the immune responses to SARS-CoV-2 resulting to the planning of the policy for the prevention of viral transmission and the recommendation for the vaccination. This result could be used for making the decision of the policy involving the prevention of SARS-CoV-2 spreading, for examples, the booster dose of the COVID-19 vaccine should be considered for the individuals who received the inactivated vaccine. In addition, the booster vaccination should be the viral vector vaccine rather than the inactivated vaccine since this study showed that the inactivated vaccine cannot induce T-cell responses and stimulate the lower level of antibody production compared to the viral vector vaccine. This would be the benefit for the policy of effective prevention of SARS-CoV-2 spreading in Thailand. Additionally, this data can be used as the information for vaccine development to prevent or control COVID-19. This project will lead to outcomes and impacts as follows: In the policy terms, the results of this study can be used to make decisions about the COVID-19 situation in Thailand in term of the stringency or easing of policy for preventing the spread of COVID-19 in Thailand. Based on the results of the analysis of immune responses mediated by the antibody production (Humoral immune responses) and T-cell responses. (Cell-mediated immune responses), these results can be used for developing the test kit for COVID-19 or developing the vaccines in the future. Additionally, the results of this study can be used to understand the immune responses against the SARS-CoV-2 infection that causes COVID-19.th_TH
dc.identifier.callnoWC503 ป619ก 2565
dc.identifier.contactno63-146
dc.subject.keywordวัคซีนเข็มกระตุ้นth_TH
dc.subject.keywordภูมิต้านทานth_TH
dc.subject.keywordEnzyme-Linked Immunosorbent Assayth_TH
dc.subject.keywordELISAth_TH
.custom.citationปกรัฐ หังสสูต, Pokrath Hansasuta, ภาวพันธ์ ภัทรโกศล, Parvapan Bhattarakosol, เอกสิทธิ์ โกวิทย์ดำรงค์, Ekasit Kowitdamrong, ญาดา ตันสิริ and Yada Tansiri. "การศึกษาภูมิคุ้มกันในผู้ที่หายและผู้ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อจากโรคโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ (โควิด-19)." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5703">http://hdl.handle.net/11228/5703</a>.
.custom.total_download182
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year0

Fulltext
Icon
Name: hs2849.pdf
Size: 1.860Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record