แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การพัฒนาระบบและกลไกการจัดการภาวะวิกฤตโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จังหวัดอุบลราชธานี

dc.contributor.authorกิตติ เหลาสุภาพth_TH
dc.contributor.authorKitti Laosupapth_TH
dc.contributor.authorอรุณ บุญสร้างth_TH
dc.contributor.authorArun Boonsangth_TH
dc.contributor.authorอารี บุตรสอนth_TH
dc.contributor.authorAree Butsornth_TH
dc.contributor.authorสง่า ทับทิมหินth_TH
dc.contributor.authorSanga Tubtimhinth_TH
dc.contributor.authorวิโรจน์ เซมรัมย์th_TH
dc.contributor.authorWirote Semrumth_TH
dc.contributor.authorนิฤมล กมุทชาติth_TH
dc.contributor.authorNirumon Kamuttachatth_TH
dc.contributor.authorอมรฤทธิ์ ชอุ่มพันธ์th_TH
dc.contributor.authorAmornrit Chaaumphanth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T03:20:56Z
dc.date.available2022-08-17T03:20:56Z
dc.date.issued2565-05
dc.identifier.otherhs2865
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5711
dc.description.abstractการวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบและกลไกการจัดการภาวะวิกฤติโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จังหวัดอุบลราชธานี ของหน่วยงานระดับอำเภอและตำบล ในการจัดการภาวะวิกฤตโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เครื่องมือที่ใช้เป็นแนวคำถามในการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ความถี่ ร้อยละ สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณและใช้การวิเคราะห์เนื้อหาสำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ ผลการศึกษาพบว่า หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีการจัดระบบการประสานความร่วมมือโดยมีแนวทางความร่วมมืออย่างเป็นลายลักษณ์อักษร มีแนวทางการควบคุมป้องกันโรคชัดเจนโดยมีคู่มือในการควบคุมและป้องกันโรค มีการจัดการขยะติดเชื้ออย่างเหมาะสม มีการจัดทำแผนงบประมาณของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) เพื่อเตรียมการรองรับปัญหาการควบคุมป้องกันโรคในปีถัดไป มีการวางแผนเพื่อใช้งบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบล หรือ กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น (กปท.) เพื่อให้เพียงพอในการควบคุมป้องกันโรคในตำบล มีการจัดทำธรรมนูญตำบลในตำบลคำครั่ง เพื่อเสริมการปฏิบัติงานให้เข้มแข็งมากขึ้น รวมทั้งมีความพร้อมในการเตรียมการรองรับภาวะวิกฤติจากโรคติดเชื้ออื่นๆ ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปเป็นต้นแบบของการสนับสนุนงบประมาณจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ทำให้เกิดการจัดเตรียมงบประมาณในการควบคุมป้องกันโรค โดยการบรรจุในแผนของหน่วยงาน โดยใช้งบจากกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น (กปท.) ซึ่งมีแนวทางและขั้นตอนที่ชัดเจนเป็นลำดับในการสนับสนุนงบประมาณ ซึ่งสามารถวัดความสำเร็จในการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนและโครงการต่างๆ ที่ได้รับงบจากกองทุนได้ รวมทั้งมีการใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ประเมินปรับปรุงกระบวนการเบิกจ่ายงบประมาณกองทุนเพื่อสนับสนุนการควบคุมและป้องกันโรคโควิด-19 อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectCOVID-19--Prevention and Controlth_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectCoronavirus Infectionsth_TH
dc.subjectการติดเชื้อไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณะth_TH
dc.subjectPublic Policyth_TH
dc.subjectHealth--Public Policyth_TH
dc.subjectสุขภาพ--นโยบายของรัฐth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขth_TH
dc.subjectPublic Health Administrationth_TH
dc.subjectคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอth_TH
dc.subjectองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.subjectกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการพัฒนาระบบและกลไกการจัดการภาวะวิกฤตโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จังหวัดอุบลราชธานีth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of Systems and Mechanisms for Management of Coronavirus Disease 2019 Crisis, Ubon Ratchathani Provinceth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThis action research aims to develop systems and mechanisms for managing the coronavirus disease 2019 crisis in Ubon Ratchathani Province of district and sub-district departments. A tool used as a guideline for questions in group discussions. Data were analyzed using frequency, a percentage for quantitative data, and content analysis for qualitative data. The results revealed that district and sub-district departments established the cooperation system with guidelines. There are clear guidelines in the disease control manual. Infectious waste was properly management. There is a budget plan for the municipality and the sub-district administrative organization to prepare for disease control in the next year. It planned to use the budget from the Community Health Security Fund to be sufficient for disease control in the sub-district. Kham Krang sub-district created a local health Charter to strengthen the operation, as well as be ready to prepare for the crisis from another infectious disease. The results of this study can be used as a model for budget support from local government organizations, causing the preparation of budgets for disease control by including packaged in the strategic plan and supported by Community Health Security Fund. It can measure the success of the budget administration. They use information and information for learning, assessing, and improving the process of disbursing the fund budget to support the control and prevention of coronavirus disease 2019 continuously and sustainably.th_TH
dc.identifier.callnoWC503 ก672ก 2565
dc.identifier.contactno64-064
dc.subject.keywordกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นth_TH
.custom.citationกิตติ เหลาสุภาพ, Kitti Laosupap, อรุณ บุญสร้าง, Arun Boonsang, อารี บุตรสอน, Aree Butsorn, สง่า ทับทิมหิน, Sanga Tubtimhin, วิโรจน์ เซมรัมย์, Wirote Semrum, นิฤมล กมุทชาติ, Nirumon Kamuttachat, อมรฤทธิ์ ชอุ่มพันธ์ and Amornrit Chaaumphan. "การพัฒนาระบบและกลไกการจัดการภาวะวิกฤตโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จังหวัดอุบลราชธานี." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5711">http://hdl.handle.net/11228/5711</a>.
.custom.total_download89
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year13
.custom.downloaded_fiscal_year1

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2865.pdf
ขนาด: 12.58Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย