Show simple item record

Cochlear Implants Registry in Thailand – Phase 3

dc.contributor.authorภาธร ภิรมย์ไชยth_TH
dc.contributor.authorขวัญชนก ยิ้มแต้th_TH
dc.contributor.authorพรเทพ เกษมศิริth_TH
dc.contributor.authorสมชาย ศรีร่มโพธิ์ทองth_TH
dc.contributor.authorพนิดา ธนาวิรัตนานิจth_TH
dc.contributor.authorเสาวรส ภทรภักดิ์th_TH
dc.contributor.authorเพิ่มทรัพย์ อิสีประดิฐth_TH
dc.contributor.authorภาณินี จารุศรีพันธุ์th_TH
dc.contributor.authorจารึก หาญประเสริฐพงษ์th_TH
dc.contributor.authorสุวิชา แก้วศิริth_TH
dc.contributor.authorศณัฐธร เชาวน์ศิลป์th_TH
dc.contributor.authorสุรเดช จารุจินดาth_TH
dc.contributor.authorสายสุรีย์ นิวาตวงศ์th_TH
dc.contributor.authorจิตรสุดา วัชรสินธุ์th_TH
dc.contributor.authorมานัส โพธาภรณ์th_TH
dc.contributor.authorดาวิน เยาวพลกุลth_TH
dc.contributor.authorนภัสถ์ ธนะมัยth_TH
dc.contributor.authorวิชิต ชีวเรืองโรจน์th_TH
dc.contributor.authorกฤษณา เลิศสุขประเสริฐth_TH
dc.contributor.authorศิวะพร เกียรติธนะบำรุงth_TH
dc.contributor.authorทศพร อัจฉราเจริญยิ่งth_TH
dc.contributor.authorวันดี ไข่มุกด์th_TH
dc.contributor.authorวิราภรณ์ อัจฉริยะเสถียรth_TH
dc.contributor.authorจรินรัตน์ ศิริรัตนพันธ์th_TH
dc.contributor.authorสมุทร จงวิศาลth_TH
dc.contributor.authorสุวัจนา อธิภาสth_TH
dc.contributor.authorกัญญ์ทอง ทองใหญ่th_TH
dc.contributor.authorศรัญ ประกายรุ้งทองth_TH
dc.contributor.authorศิริพร ลิมป์วิริยะกุลth_TH
dc.contributor.authorกนกรัตน์ สุวรรณสิทธิ์th_TH
dc.contributor.authorตุลกานต์ มักคุ้นth_TH
dc.contributor.authorนิชธิมา ฉายะโอภาสth_TH
dc.date.accessioned2022-11-03T03:56:55Z
dc.date.available2022-11-03T03:56:55Z
dc.date.issued2565-06
dc.identifier.otherhs2896
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5757
dc.description.abstractการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมเป็นการรักษาทางเลือกเดียวในปัจจุบัน ซึ่งมุ่งแก้ไขความพิการทางการได้ยินของผู้ที่มีปัญหาการได้ยินทั้งสองข้างในระดับหูหนวกสนิทได้ แต่เนื่องจากการผ่าตัดชนิดนี้โดยเฉพาะอุปกรณ์ประสาทหูเทียมมีค่าใช้จ่ายสูงถึงเกือบหนึ่งล้านบาทต่อชุดอุปกรณ์ และการผ่าตัดมีความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงทำให้มีโอกาสถูกฟ้องร้องสูง อีกทั้งความสำเร็จของการผ่าตัดต่อการเพิ่มความสามารถทางการได้ยิน การสื่อสารและคุณภาพชีวิตยังขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ได้แก่ ระดับการได้ยินก่อนผ่าตัด สาเหตุและพยาธิสภาพของหูชั้นใน เส้นประสาทหูและสมองส่วนการได้ยิน ระยะเวลาตั้งแต่สูญเสียการได้ยินจนถึงการผ่าตัด พัฒนาการและการใช้ภาษาพูด ประสบการณ์ในการใช้เครื่องช่วยฟัง หรือการได้รับการฝึกฟังและฝึกพูดมาก่อน ความพร้อมทางร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย ความคาดหวังและความพร้อมในการติดตามการรักษา คุณลักษณะทางเทคนิคของอวัยวะเทียม เช่น จำนวนอิเล็กโทรดและซอฟแวร์ของเครื่องประมวลเสียง ทางราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์แห่งประเทศไทย ได้จัดทำร่างเกณฑ์มาตรฐานการผ่าตัด ฝังประสาทหูเทียมขึ้น และต้องการให้มีการรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบโดยการลงทะเบียนผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดจากโรงพยาบาลหลายแห่งทั่วประเทศและการติดตามผลในระยะยาว ทั้งด้านผลตรวจการได้ยิน ความสามารถในการฟังเสียงพูดและการใช้ภาษา รวมถึงค่าใช้จ่ายและผลลัพธ์ที่เป็นคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยก่อนและหลังการผ่าตัด เพื่อให้ได้ฐานข้อมูลที่มากเพียงพอต่อการประเมินประสิทธิภาพความปลอดภัยและปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของการผ่าตัดและสามารถใช้สำหรับการวางนโยบายทางสุขภาพระดับประเทศในเรื่องนี้ต่อไป รายงานวิจัยฉบับนี้ได้รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2559 จนถึง 29 มิถุนายน 2565 ดังนี้ 1. รายงานสถานะของทะเบียนประสาทหูเทียมในประเทศไทย จากการดำเนินโครงการระยะที่ 1 ถึงระยะที่ 3 นับตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2559 จนถึงวันที่ 29 มิถุนายน 2565 มีข้อมูลผู้ป่วยในระบบทั้งหมด 580 คน แบ่งเป็นเพศชาย 289 คน (ร้อยละ 52) เพศหญิง 268 คน (ร้อยละ 48) และไม่ระบุเพศ 23 คน (ร้อยละ 4) อายุเฉลี่ย 27.43 ± 24.65 ปี ส่วนใหญ่เป็นผู้ใหญ่ (ร้อยละ 50) หากพิจารณาในเด็กส่วนใหญ่จะเป็นเด็กอายุ 2-4 ปี ที่ได้รับการประเมินเพื่อผ่าตัดใส่ประสาทหูเทียม (ร้อยละ 15) สาเหตุของความพิการทางหูส่วนใหญ่เกิดภายหลังคลอด (ร้อยละ 45.61) ที่เหลือเป็นแต่แรกเกิด (ร้อยละ 45.36) โดยเด็กที่เป็นแต่แรกเกิดส่วนใหญ่ไม่ทราบสาเหตุ (ร้อยละ 38) สาเหตุของความพิการที่พบบ่อยที่สุด คือ หลังการติดเชื้อในเยื่อหุ้มสมอง (meningitis) พบร้อยละ 18.56 ระดับการได้ยินของผู้ป่วยเฉลี่ยของผู้ป่วยเท่ากับ 95.53 เดซิเบล คือระดับความพิการชนิดหูหนวก (> 90 เดซิเบล) ระดับความสามารถในการสื่อสาร (CAP Score) ของผู้ป่วยส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 0 คือไม่สามารถรับรู้หรือตอบสนองต่อเสียงในสิ่งแวดล้อมได้เลย 2. วิเคราะห์ผลการใส่ประสาทหูเทียมจากข้อมูลในทะเบียนประสาทหูเทียมในประเทศไทยหลังการผ่าตัดใส่ประสาทหูเทียม ระดับการได้ยินที่ 500-4,000 Hz ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญตั้งแต่เดือนแรกหลังผ่าตัดและดีขึ้นถึงระดับประสาทหูเสื่อมเล็กน้อยในเดือนที่ 3 (p < 0.001) ระดับการได้ยินเสียงพูดดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญตั้งแต่เดือนแรกหลังผ่าตัดสู่ระดับประสาทหูเสื่อมเล็กน้อย (p < 0.001) ระดับการจำแนกคำเริ่มดีขึ้นเรื่อยๆ หลังผ่าตัด โดยเริ่มคงที่อยู่ในระดับสามารถสื่อสารได้ตั้งแต่เดือนที่ 6 หลังการผ่าตัด พบภาวะแทรกซ้อนร้อยละ 7.51 ปัญหาที่พบบ่อย คือ หน้าเบี้ยว วิงเวียน หรือประสาทหูเทียมหลุด 3. ระบบ Pre-authorization System ตามที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้ประกาศกำหนดเพิ่มสิทธิประโยชน์บริการการตรวจคัดกรองการได้ยินในทารกแรกเกิดกลุ่มเสี่ยงและการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2564 นั้น ในกรณีที่ตรวจคัดกรองแล้วมีปัญหาหูหนวก การผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมและการฟื้นฟูการได้ยินการพูดอย่างถูกต้องสมบูรณ์จะช่วยให้เด็กมีพัฒนาการสมวัยและไม่สูญเสียโอกาสทางสังคม การทำ pre-authorization (PA) คือ การประกันคุณภาพก่อนการผ่าตัดเพื่อประโยชน์ของผู้ป่วย กล่าวคือมีระบบตรวจสอบว่าผู้ป่วยมีภาวะเหมาะสม พร้อมที่จะผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม ซึ่งเป็นเครื่องมือที่มีราคาแพงหรือไม่ นอกจากนี้ยังมีการควบคุมคุณภาพของแพทย์ผู้ผ่าตัดและสถานที่ทำการดูแลหลังผ่าตัดและการฟื้นฟูสมรรถภาพการฟังและการพูดที่เหมาะสม เนื่องจากผู้ป่วยกลุ่มนี้ต้องทำการฟื้นฟูการได้ยิน หลังการผ่าตัดในระยะยาว สปสช. ได้อนุมัติการใช้ระบบ Pre-authorization System ของโครงการ ตามประกาศที่ สปสช.2.57/ว.2685 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2564 ให้มีการใช้ระบบ Pre-authorization ของโครงการ เพื่อตรวจสอบก่อนการเบิกจ่ายประสาทหูเทียมth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectหูเทียมth_TH
dc.subjectCochlear Implantth_TH
dc.subjectหู--ศัลยกรรมth_TH
dc.subjectหูหนวก--การรักษาth_TH
dc.subjectการได้ยิน, เครื่องช่วยth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleทะเบียนประสาทหูเทียมในประเทศไทย ระยะที่ 3th_TH
dc.title.alternativeCochlear Implants Registry in Thailand – Phase 3th_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThe cochlear implant surgery is currently an only option to treat the patients with bilateral severe or profound hearing loss. The cost of cochlear implant surgery in Thailand is around 1 million baht per case and it needs the experience surgeon to perform this operation. The success of the operation depends on many factors such as hearing level before surgery, the cause of hearing loss, duration of hearing loss, experience of using hearing aids, and readiness to rehabilitation. The Royal College of Otolaryngology – Head and Neck Surgery of Thailand had issued the guideline for cochlear implantation and suggested the need of cochlear implants registry to collect the operation results prospectively including hearing and speech levels, costs, and quality of life of the patients after surgery. This report collected the cochlear implantation data from 16 May 2016 to 29 June 2022. 1. The status of Cochlear Implants Registry in Thailand. The phase 1 to phase 3 of this study start from 16 May 2016 to 29 June 2022. There were 580 patients who underwent cochlear implant surgery. There were 289 males (52 percent), 268 females (48 percent), and 23 no gender data (4 percent). The mean age was 27. 43 ± 24. 65 years. Most patients were adults (50 percent). In children, the most common age group was 2-4 years old (15 percent). The most common cause of hearing loss was congenital (45.36 percent) and mostly idiopathic (38 percent). While the most common cause of acquire hearing loss is meningitis (18.56 percent). The mean hearing level before surgery was 95.53 dB (profound hearing loss). The mean CAP score before surgery was 0 (no awareness of environmental sound). 2. The results of cochlear implantation in Thailand After surgery, the mean hearing level at 500-4,000 Hz was significantly improved at first month post operation. The mean pure-tone hearing level was improved from profound to mild hearing loss at third month after surgery (p < 0.001). The speech hearing level was also improved from profound to mild hearing loss at third month after surgery (p < 0. 001). The speech discrimination score was improved to the level that can communicate that sixth month after surgery. The complication after surgery were found in 7.51 percent of patients. The most common events were facial palsy, vertigo, and extrusion of electrode. 3. Pre-authorization System The National Health Security Office of Thailand announced the cochlear implantation benefit for the newborn and young children since 1 January 2021 who had severe to profound hearing loss to improve the speech and language development of this group of patients. Pre-authorization (PA) for cochlear implantation surgery was developed by this project to ensure the benefit of patients including review pre-surgical condition to ensure the fitness to undergo cochlear implant surgery, review that the surgeon is adequately trained and review that the hospital has adequate staffs and instruments for surgery and rehabilitation after the surgery. The National Health Security Office of Thailand agreed to use this project’s preauthorization system as announcement NHSO 2.57/vor.2685 on 3 May 2021 before performing the cochlear implantation under the National Health Security Office of Thailand benefit.th_TH
dc.identifier.callnoWV168 ภ411ท 2565
dc.identifier.contactno63-086
.custom.citationภาธร ภิรมย์ไชย, ขวัญชนก ยิ้มแต้, พรเทพ เกษมศิริ, สมชาย ศรีร่มโพธิ์ทอง, พนิดา ธนาวิรัตนานิจ, เสาวรส ภทรภักดิ์, เพิ่มทรัพย์ อิสีประดิฐ, ภาณินี จารุศรีพันธุ์, จารึก หาญประเสริฐพงษ์, สุวิชา แก้วศิริ, ศณัฐธร เชาวน์ศิลป์, สุรเดช จารุจินดา, สายสุรีย์ นิวาตวงศ์, จิตรสุดา วัชรสินธุ์, มานัส โพธาภรณ์, ดาวิน เยาวพลกุล, นภัสถ์ ธนะมัย, วิชิต ชีวเรืองโรจน์, กฤษณา เลิศสุขประเสริฐ, ศิวะพร เกียรติธนะบำรุง, ทศพร อัจฉราเจริญยิ่ง, วันดี ไข่มุกด์, วิราภรณ์ อัจฉริยะเสถียร, จรินรัตน์ ศิริรัตนพันธ์, สมุทร จงวิศาล, สุวัจนา อธิภาส, กัญญ์ทอง ทองใหญ่, ศรัญ ประกายรุ้งทอง, ศิริพร ลิมป์วิริยะกุล, กนกรัตน์ สุวรรณสิทธิ์, ตุลกานต์ มักคุ้น and นิชธิมา ฉายะโอภาส. "ทะเบียนประสาทหูเทียมในประเทศไทย ระยะที่ 3." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5757">http://hdl.handle.net/11228/5757</a>.
.custom.total_download30
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year9
.custom.downloaded_fiscal_year11

Fulltext
Icon
Name: hs2896.pdf
Size: 1.677Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record