แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

กลุ่มเปราะบางกับความเหลื่อมล้ำในสถานการณ์โควิด

dc.contributor.authorลือชัย ศรีเงินยวงth_TH
dc.contributor.authorLuechai Sri-ngernyuangth_TH
dc.contributor.authorปกรณ์ สิงห์สุริยาth_TH
dc.contributor.authorPagorn Singsuriyath_TH
dc.contributor.authorปิยณัฐ ประถมวงษ์th_TH
dc.contributor.authorPiyanat Prathomwongth_TH
dc.contributor.authorชุติมา พัฒนพงศ์th_TH
dc.contributor.authorChutima Pattanapongth_TH
dc.contributor.authorวาศินี กลิ่นสมเชื้อth_TH
dc.contributor.authorVasinee Klinsomchuath_TH
dc.contributor.authorสายสุดา วงษ์จินดาth_TH
dc.contributor.authorSaisuda Vongjindath_TH
dc.contributor.editorลือชัย ศรีเงินยวงth_TH
dc.contributor.editorLuechai Sri-ngernyuangth_TH
dc.contributor.editorชุติมา พัฒนพงศ์th_TH
dc.contributor.editorChutima Pattanapongth_TH
dc.date.accessioned2022-11-10T08:24:46Z
dc.date.available2022-11-10T08:24:46Z
dc.date.issued2565-10
dc.identifier.isbn9786164437432
dc.identifier.otherhs2905
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5763
dc.description.abstractงานเสวนาออนไลน์ “กลุ่มเปราะบาง” กับความเหลื่อมล้ำในสถานการณ์โควิด ซึ่งเป็นที่มาของเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ และเป็นส่วนหนึ่งของแผนดำเนินงานวิจัยภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยและขับเคลื่อนนโยบายสังคมไม่ทอดทิ้ง (Research Program under Inclusive Society Research Excellence Centre – ISREC) เป็นโครงการที่เกิดขึ้นภายใต้บันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) และคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล แผนงานนี้มีเป้าหมายระยะยาวในการใช้งานวิจัยเพื่อขับเคลื่อนให้เกิดสังคมที่เกื้อกูล ไม่ทอดทิ้งกัน โดยการผสมผสานองค์ประกอบสำคัญ ได้แก่ การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Production) ที่่เกี่ยวกับความซับซ้อนของปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคม ทั้งในแง่สถานการณ์ เหตุปัจจัย เงื่อนไขเชิงบริบท ในมิติและระดับต่างๆ และทางออกทั้งในระดับปฏิบัติการ โครงสร้างหรือนโยบาย ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพนักวิจัยและคนทำงาน (Capacity Building) เพื่อสร้างบุคลากรให้มีความรู้และทักษะทั้งในเชิงทฤษฎีและวิธีวิทยา ที่จะสามารถพัฒนาองค์ความรู้และขับเคลื่อนการทำงานที่มีความยากและซับซ้อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมไปถึงการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง (Social Movement) ผ่านกลไกระดับนโยบาย โครงสร้างองค์กร พื้นที่ปฏิบัติการเฉพาะต่างๆ โดยอาศัยองค์ความรู้ที่พัฒนาขึ้น ตลอดจนการเชื่อมโยงเครือข่ายและพื้นที่ปฏิบัติการจริง (Engagement) ใช้การทำงานกับเครือข่ายในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับนโยบายชุมชน โดยเนื้อหาของหนังสือประกอบด้วย 4 ประเด็น ซึ่งเป็นหัวข้อของการเสวนา ได้แก่ วิกฤติความอยู่รอดของครอบครัวเปราะบางในสถานการณ์โควิด ชะตากรรมและอนาคตของเด็กเปราะบางในสถานการณ์โควิด ชีวิตและสุขภาวะของแท็กซี่ในเมืองหลวงยุคโควิด-19 : ทางเลือกและทางรอด และเทคโนโลยี “ลด” หรือ “ขยาย” ช่องว่างความเหลื่อมล้ำในสถานการณ์โควิด โดยผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานภาครัฐ ภาคประชาสังคม เอกชน องค์กรระหว่างประเทศและนักวิชาการที่ติดตามแต่ละประเด็นอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นการนำประสบการณ์และข้อคิดจากมุมมองของคนทำงานจากหลากหลายภาคส่วนมาวิเคราะห์และสังเคราะห์ให้เห็นถึงสถานการณ์ปัญหา รวมถึงช่องว่างในการรับมือกับปัญหาโดยกลไกหลักที่มีอยู่ และที่สำคัญคือการนำประสบการณ์การทำงานด้วยวิธีคิดและวิธีการที่แตกต่างไปจากเดิม ซึ่งหลายกรณีพบว่า มีความเหมาะสมและถึงพร้อมด้วยประสิทธิภาพในอันที่จะตอบโจทย์ในวิกฤตการณ์ที่สังคมไทยต้องเผชิญ ซึ่งที่จริงแล้ว เป็นเพียง “อาการ” ของวิกฤติที่ใหญ่กว่าและดำเนินมาอย่างยาวนาน ซึ่งจะเป็นประโยชน์สำหรับการเรียนรู้และทำความเข้าใจกับกระบวนทัศน์ใหม่ อันจะนำไปสู่มุมมองต่อปัญหาที่ชัดเจน เป็นจริงและสามารถพัฒนาวิธีการที่เอื้อต่อการดูแลช่วยเหลือประชาชนทุกกลุ่มในสังคมด้วยคุณภาพของนโยบายและระบบบริการซึ่งแตกต่างจากที่เคยเป็นมา สุดท้ายงานเสวนาและหนังสือเล่มนี้สำเร็จได้ด้วยความร่วมมือจากทุกๆ ฝ่าย ขอขอบคุณวิทยากรทุกท่าน รวมถึงภาคีเครือข่ายที่กรุณาร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์และปฏิบัติงานอย่างแข็งขันในสถานการณ์โควิด ขอขอบคุณสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ที่สนับสนุนงบประมาณและมองเห็นคุณค่าของการเผยแพร่องค์ความรู้ ขอขอบคุณคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลที่สนับสนุนความร่วมมือทางการวิจัยและวิชาการเป็นอย่างดีth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectVulnerable Populationsth_TH
dc.subjectครอบครัวth_TH
dc.subjectFamilyth_TH
dc.subjectFamiliesth_TH
dc.subjectFamily--Health and Hygieneth_TH
dc.subjectครอบครัว--สุขภาพและอนามัยth_TH
dc.subjectครอบครัว--แง่สังคมth_TH
dc.subjectFamilies--Social Aspectsth_TH
dc.subjectSocial Movementsth_TH
dc.subjectความเหลื่อมล้ำth_TH
dc.subjectEqualityth_TH
dc.subjectความเท่าเทียมth_TH
dc.subjectHealth Equityth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectCoronavirus Infectionsth_TH
dc.subjectการติดเชื้อไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectHealth--Managementth_TH
dc.subjectการจัดการด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectระบบสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Systemsth_TH
dc.subjectปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH)th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleกลุ่มเปราะบางกับความเหลื่อมล้ำในสถานการณ์โควิดth_TH
dc.typeDocumentth_TH
dc.identifier.callnoHB886 ล517ก 2565
dc.identifier.contactno63-036
dc.subject.keywordประชากรชายขอบth_TH
dc.subject.keywordประชากรกลุ่มเฉพาะth_TH
dc.subject.keywordประชากรกลุ่มเปราะบางth_TH
dc.subject.keywordครอบครัวเปราะบางth_TH
dc.subject.keywordVulnerable Familiesth_TH
dc.subject.keywordการเคลื่อนไหวทางสังคมth_TH
dc.subject.keywordการขับเคลื่อนทางสังคมth_TH
dc.subject.keywordสังคมไม่ทอดทิ้งกันth_TH
dc.subject.keywordInclusive Societyth_TH
.custom.citationลือชัย ศรีเงินยวง, Luechai Sri-ngernyuang, ปกรณ์ สิงห์สุริยา, Pagorn Singsuriya, ปิยณัฐ ประถมวงษ์, Piyanat Prathomwong, ชุติมา พัฒนพงศ์, Chutima Pattanapong, วาศินี กลิ่นสมเชื้อ, Vasinee Klinsomchua, สายสุดา วงษ์จินดา and Saisuda Vongjinda. "กลุ่มเปราะบางกับความเหลื่อมล้ำในสถานการณ์โควิด." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5763">http://hdl.handle.net/11228/5763</a>.
.custom.total_download142
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year25
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2905.pdf
ขนาด: 6.957Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย