Show simple item record

Genetic Variation Study of Obesity in Thai Patients: To Develop a Polygenic Risk Score for Clinical Risk Assessment and Personalized Medicinal Treatment

dc.contributor.authorชาติชาย ไชยชนะth_TH
dc.contributor.authorChartchai Chaichanath_TH
dc.contributor.authorพรพจน์ เปรมโยธินth_TH
dc.contributor.authorPornpoj Pramyothinth_TH
dc.contributor.authorวันจันทร์ ดีคุ้มth_TH
dc.contributor.authorWanjan Deekumth_TH
dc.contributor.authorนันทา คุมคณะth_TH
dc.contributor.authorNanta Khumkhanath_TH
dc.date.accessioned2022-11-11T08:25:07Z
dc.date.available2022-11-11T08:25:07Z
dc.date.issued2565-08
dc.identifier.otherhs2906
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5767
dc.description.abstractโรคอ้วนได้กลายเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่ร้ายแรงที่สุดปัญหาหนึ่งของโลก เนื่องจากสาเหตุของโรคอ้วนนั้นซับซ้อนและมีหลายปัจจัย การวิจัยยุคใหม่เปิดเผยให้เห็นการควบคุมโรคอ้วนอย่างมีประสิทธิภาพผ่านปฏิสัมพันธ์ของยีนและโภชนาการ แนวโน้มโรคอ้วนของแต่ละบุคคลถูกตรวจด้วยการศึกษาความสัมพันธ์ทั้งจีโนม Genome-Wide Association Studies (GWAS) ซึ่งนำไปสู่การค้นพบที่มีประสิทธิภาพที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชากร อาสาสมัครโรคอ้วนชาวไทยมากกว่า 300 คนในกลุ่ม Siriraj Genomics Thailand ได้ทำการศึกษาการเชื่อมโยงผล GWAS เพื่อสร้างความสัมพันธ์กับลักษณะที่เกี่ยวข้องกับโรคอ้วน เช่น ค่าดัชนีมวลกาย องค์ประกอบของร่างกาย ข้อมูลทางคลินิกของเลือดและปริมาณสารอาหาร เราตรวจสอบ 446,370 Single-Nucleotide Polymorphisms (SNPs) และการเชื่อมโยงลักษณะโรคอ้วน โดยให้ผล 50 SNPs ที่มีลักษณะที่เกี่ยวข้องกับโรคอ้วนอย่างมีนัยสำคัญ คณะผู้วิจัยค้นพบ SNPs 5 ตำแหน่ง (rs114330431, rs4964357, rs12190237, rs140552528, rs12103676 และ rs4713103) ที่สัมพันธ์กับการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัว ดัชนีมวลกาย รอบเอวและรอบสะโพก (P 0.05) SNP 7 ตำแหน่ง เชื่อมโยงกับระดับไขมันในเลือดที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ rs4964357, rs12190237, rs117828572, rs142722966, rs9577364 และ rs11779272 คณะผู้วิจัยค้นพบผลกระทบของความแปรผันทางพันธุกรรมต่อความเสี่ยงของโรคร่วมที่เกี่ยวข้องกับโรคอ้วน ได้แก่ rs142722966, rs116845541 และ rs2059238 มีความเกี่ยวข้องกับปัญหาโรคเบาหวานและโรคเมตาบอลิซึม ในขณะที่ 6 SNP เชื่อมโยงกับปัญหาความดันโลหิตสูง (rs79392564, rs12033263, rs79949466, rs77592423, rs6111497 และ rs1597468) ของอาสาสมัครโรคอ้วน การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นของการรับพลังงานจากอาหารและสารอาหาร พบ SNP อัลลีลเสี่ยงของ rs4739762 และ rs75047180 สัมพันธ์กับการบริโภคไขมันเพิ่มขึ้น (ผลต่ออัลลีล: 18.06 ก./วัน (95%IC 3.83-32.29, p= 0.013)) ปริมาณโปรตีนจากสัตว์ (ผลต่ออัลลีล: 23.45 ก. (95%IC 10.69-36.22, p<0.001)), ปริมาณวิตามินเอ (ผลต่ออัลลีล: 993.86 RAE (95%IC 454.68-1533.03, p<0.001) และปริมาณไนอาซิน (ผลต่ออัลลีล: 5.24 มก. (95%IC 1.39-9.09, p=0.008)). โดยสรุป ตำแหน่งทางพันธุกรรมที่เกี่ยวข้องกับโรคอ้วนที่ระบุในครั้งนี้ให้ข้อมูลเชิงลึกใหม่เกี่ยวกับรากฐานทางพันธุกรรมต่อความอ้วนในประชากรไทย ซึ่งการศึกษานี้จะช่วยเพิ่มความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อโรคอ้วน นำไปสู่การใช้โภชนาการที่แม่นยำสำหรับการป้องกันและรักษาโรคอ้วนth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectโรคอ้วนth_TH
dc.subjectObesityth_TH
dc.subjectโรคอ้วน--การป้องกันและรักษาth_TH
dc.subjectOverweightth_TH
dc.subjectยีนth_TH
dc.subjectGeneth_TH
dc.subjectพันธุกรรมth_TH
dc.subjectGeneticsth_TH
dc.subjectพันธุศาสตร์มนุษย์th_TH
dc.subjectHuman Geneticsth_TH
dc.subjectGenetic Disordersth_TH
dc.subjectGenetic Variationth_TH
dc.subjectดัชนีมวลกายth_TH
dc.subjectBody Mass Indexth_TH
dc.subjectBMIth_TH
dc.subjectโภชนาการth_TH
dc.subjectNutritionth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectSingle Nucleotide Polymorphismsth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการศึกษาความแปรผันทางพันธุกรรมในอาสาสมัครผู้ป่วยโรคอ้วนชาวไทย เพื่อพัฒนาคะแนนความเสี่ยงทางพันธุกรรมสำหรับประเมินความรุนแรงทางคลินิก และการตอบสนองต่อการรักษาอย่างจำเพาะบุคคลth_TH
dc.title.alternativeGenetic Variation Study of Obesity in Thai Patients: To Develop a Polygenic Risk Score for Clinical Risk Assessment and Personalized Medicinal Treatmentth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeObesity has become one of the world's most serious public health issues. Because the causes of obesity are complex and multifactorial, new eras of research are opening for the effective control of obesity through gene and nutrition intake interactions. Individuals' obesity tendencies are thought to be determined by GWASs (genome-wide association studies), which leads to powerful discoveries relevant to population health. Over 300 Thai obesity participants in the Siriraj Genomic Thailand cohort to conduct a GWAS on obesity-related variables such as BMI, body composition, blood clinical profile, and dietary intake. We examined 446,370 single-nucleotide polymorphisms (SNPs) and obesity trait associations, yielding 50 SNPs with significant obesity-associated traits. We discovered five SNPs (rs114330431, rs4964357, rs12190237, rs140552528, rs12103676, and rs4713103) that were associated with increased weight, BMI, waist circumference, and hip circumference (P 0.05). Seven SNPs have been linked to rising lipid profile levels, including rs4964357, rs12190237, rs117828572, rs142722966, rs9577364, and rs11779272. We discovered the effect of genetic variants on the risk of obesity-related comorbidities, including rs142722966, rs116845541, and rs2059238 have been associated with Diabetes and metabolic syndrome difficulties, while 6 SNPs have been linked to high blood pressure issues (rs79392564, rs12033263, rs79949466, rs77592423, rs6111497, and rs1597468). Linear regression analyses of dietary energy and macronutrient intakes with the SNP. The risk allele at rs4739762 and rs75047180 was associated with increased total fat (per allele effect: 18.06 g/d (95%IC 3.83-32.29, p= 0.013)), animal protein intake (per allele effect: 23.45 g (95%IC 10.69-36.22, p<0.001)), Vitamin A intake (per allele effect: 993.86 RAE (95%IC 454.68-1533.03, p<0.001) and Niacin intake (per allele effect: 5.24 mg (95%IC 1.39-9.09, p=0.008)). In conclusion, the obesity-related genetic loci identified here provide new insights into the genetic underpinnings of adiposity in the Thai population. This study adds to our understanding of the factors that contribute to obesity, which can help influence precision nutrition for obesity prevention and treatment.th_TH
dc.identifier.callnoWD210 ช518ก 2565
dc.identifier.contactno63-077
dc.subject.keywordGenome-Wide Association Studiesth_TH
dc.subject.keywordGWASth_TH
dc.subject.keywordSNPsth_TH
dc.subject.keywordภาวะน้ำหนักเกินth_TH
.custom.citationชาติชาย ไชยชนะ, Chartchai Chaichana, พรพจน์ เปรมโยธิน, Pornpoj Pramyothin, วันจันทร์ ดีคุ้ม, Wanjan Deekum, นันทา คุมคณะ and Nanta Khumkhana. "การศึกษาความแปรผันทางพันธุกรรมในอาสาสมัครผู้ป่วยโรคอ้วนชาวไทย เพื่อพัฒนาคะแนนความเสี่ยงทางพันธุกรรมสำหรับประเมินความรุนแรงทางคลินิก และการตอบสนองต่อการรักษาอย่างจำเพาะบุคคล." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5767">http://hdl.handle.net/11228/5767</a>.
.custom.total_download47
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month3
.custom.downloaded_this_year5
.custom.downloaded_fiscal_year7

Fulltext
Icon
Name: hs2906.pdf
Size: 5.057Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record