Show simple item record

Impact and Adaptability Through Behaviors Change for Prevention COVID-19 Among the Hill Tribe Populations Living in Borders Areas, Chiang Rai Province, Thailand

dc.contributor.authorรติภาคย์ ตามรภาคth_TH
dc.contributor.authorRatipark Tamornparkth_TH
dc.contributor.authorธวัชชัย อภิเดชกุลth_TH
dc.contributor.authorTawatchai Apidechkulth_TH
dc.contributor.authorภาณุพงศ์ อุปละth_TH
dc.contributor.authorPanupong Upalath_TH
dc.date.accessioned2022-11-29T08:50:30Z
dc.date.available2022-11-29T08:50:30Z
dc.date.issued2565-10
dc.identifier.otherhs2907
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5772
dc.description.abstractการวิจัยแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลกระทบจากการระบาดของโรค COVID-19 และประเมินศักยภาพการปรับตัวผ่านการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรค COVID-19 กลุ่มประชากรชาวเขา จำนวนสามกลุ่ม คือ เด็กนักเรียน ประชาชนทั่วไปและผู้สูงอายุ ที่อาศัยอยู่พื้นที่ชายแดน จังหวัดเชียงราย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผ่านการพัฒนาคุณภาพและดำเนินการเก็บข้อมูลในช่วงเดือนเมษายน-ธันวาคม พ.ศ. 2564 ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น จำนวน 2,208 คน กลุ่มนักเรียนและนักศึกษา ได้รับผลกระทบด้านการศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง ไม่มีอินเทอร์เน็ตเพื่อเข้าถึงการศึกษา ไม่มีอุปกรณ์หรือเทคโนโลยีเพื่อเข้าถึงการเรียนออนไลน์ที่บ้านและในส่วนศักยภาพการปรับตัวผ่านการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรค COVID-19 อยู่ในระดับดี กลุ่มประชาชนทั่วไปส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง คนที่เป็นลูกจ้างหรือรับจ้างถูกเลิกจ้างและไม่ได้รับเงินชดเชยหลังถูกเลิกจ้าง ถูกลดเงินเดือน มีหนี้สินเพิ่มขึ้น ไม่ได้รับเยียวยาการผ่อนชำระหนี้สินจากภาครัฐ ไม่ได้รับเงินเยียวยาเนื่องจากไม่มีบัตรประชาชน และด้านศักยภาพการปรับตัวผ่านการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรค COVID-19 อยู่ในระดับดี กลุ่มผู้สูงอายุส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร ได้รับผลกระทบเรื่องอาชีพและรายได้ในระดับปานกลาง การขายผลผลิตได้น้อยลงและไม่มีคนมาซื้อและไม่มีสถานที่ขายผลผลิตและด้านศักยภาพการปรับตัวผ่านการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรค COVID-19 อยู่ในระดับดี นโยบายภาครัฐในการจัดการศึกษาควรเน้นการสนับสนุนสื่อและเครื่องมือในการเข้าถึงระบบการเรียนแบบออนไลน์ นอกจากนั้นการสร้างงานและอาชีพ รวมถึงการหาช่องทางการระบายสินค้าทางการเกษตรมีความสำคัญอย่างมากในกลุ่มวัยกลางคนและผู้สูงอายุ ตลอดทั้งการสร้างนโยบายในด้านสิ่งแวดล้อมที่สนับสนุนการปรับตัวในการดำรงชีวิตระยะยาวกับโรค COVID-19 ต้องดำเนินการอย่างจริงจัง โดยเฉพาะกลุ่มคนที่มีระดับการศึกษาน้อยและรายได้ไม่ดีth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHill Tribesth_TH
dc.subjectชาวเขาth_TH
dc.subjectพื้นที่ชายแดนth_TH
dc.subjectBehaviorsth_TH
dc.subjectพฤติกรรมth_TH
dc.subjectHealth Behaviorth_TH
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพth_TH
dc.subjectการดูแลตนเอง--พฤติกรรมth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectCoronavirus Infectionsth_TH
dc.subjectการติดเชื้อไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectHealth--Managementth_TH
dc.subjectการจัดการด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH)th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleผลกระทบและศักยภาพการปรับตัวผ่านการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคโควิด-19 ของกลุ่มชาวเขาที่อาศัยอยู่พื้นที่ชนบทชายแดน จังหวัดเชียงราย ประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeImpact and Adaptability Through Behaviors Change for Prevention COVID-19 Among the Hill Tribe Populations Living in Borders Areas, Chiang Rai Province, Thailandth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeA cross-sectional study aimed to assess the impacts from the COVID-19 pandemic and adaptability to prevent and control the disease among the three groups (students, general population, and the elderly) of the hill tribe people lived in border areas in Chiang Rai province, Thailand. Validated questionnaires were used to gather information from participants. Data were collected between April 2021 and December 2021. A total of 2,208 participants were recruited into the study. Among students, their had got moderate level of the impact. Several barriers access education during the pandemic were detected such as inaccessible to internet and no educational technologies and materials available. The ability of their adaptations to follow COVID-19 prevention and control measures was found in moderate level. In general population, majority were impacted in moderate level. Several impacts were detected such as leaving job without compensation, salary reducing, not met the qualification from the national policy of compensation from the COVID-19 pandemic due to no Thai identification. Moreover, a large proportion had increased their family debt during the pandemic. The ability of their adaptations to follow COVID-19 prevention and control measures was found in moderate level. The elderly, a large proportion were working in agricultural section, and had got the impact in moderate level in particular their job and income. The main problem was unable to sell their agricultural products. The ability of their adaptations to follow COVID-19 prevention and control measures was found in good level. National educational policy should be focused on educational materials and technologies supported to children and schools. Creating and seeking markets and supply chains for general population and the elderly should be urgently executing. Moreover, the policy related to support prolong living environmental under the COVID-19 pandemic is crucial particularly those who are living in poor education and economic status.th_TH
dc.identifier.callnoHB886 ร135ผ 2565
dc.identifier.contactno64-041
dc.subject.keywordกลุ่มประชากรชาวเขาth_TH
dc.subject.keywordHill Tribe Populationsth_TH
dc.subject.keywordการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมth_TH
dc.subject.keywordBehaviors Changeth_TH
dc.subject.keywordBorder Areasth_TH
dc.subject.keywordประชากรชายขอบth_TH
dc.subject.keywordประชากรกลุ่มเฉพาะth_TH
.custom.citationรติภาคย์ ตามรภาค, Ratipark Tamornpark, ธวัชชัย อภิเดชกุล, Tawatchai Apidechkul, ภาณุพงศ์ อุปละ and Panupong Upala. "ผลกระทบและศักยภาพการปรับตัวผ่านการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคโควิด-19 ของกลุ่มชาวเขาที่อาศัยอยู่พื้นที่ชนบทชายแดน จังหวัดเชียงราย ประเทศไทย." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5772">http://hdl.handle.net/11228/5772</a>.
.custom.total_download49
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year4
.custom.downloaded_fiscal_year12

Fulltext
Icon
Name: hs2907.pdf
Size: 6.819Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record