Show simple item record

Evaluation of Capacities of Health Systems to Response the COVID-19 Epidemic in Border Area, Chiang Rai Province

dc.contributor.authorอนุสรณ์ อุดปล้องth_TH
dc.contributor.authorAnusorn Udplongth_TH
dc.contributor.authorธวัชชัย อภิเดชกุลth_TH
dc.contributor.authorTawatchai Apidechkulth_TH
dc.contributor.authorฟาติมา ยีหมาดth_TH
dc.contributor.authorFartima Yeemardth_TH
dc.date.accessioned2022-12-01T07:53:04Z
dc.date.available2022-12-01T07:53:04Z
dc.date.issued2565-10
dc.identifier.otherhs2908
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5773
dc.description.abstractการวิจัยแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินศักยภาพของบุคลากรและระบบสุขภาพในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรค COVID-19 ของหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงมหาดไทย ในพื้นที่อำเภอชายแดนจังหวัดเชียงราย คือ อำเภอแม่ฟ้าหลวง อำเภอแม่สาย อำเภอเชียงแสน อำเภอแม่จัน อำเภอแม่สรวย อำเภอเวียงป่าเป้า อำเภอเมืองและอำเภอเชียงของ เก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามที่ผ่านการพัฒนาคุณภาพและดำเนินการเก็บข้อมูลในช่วงเดือนเมษายน-ธันวาคม พ.ศ. 2564 ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น จำนวน 906 คน ด้านการบริหารจัดการ บุคลากรจากกระทรวงสาธารณสุข องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและบุคลากรในชุมชน ส่วนใหญ่ไม่เข้าใจกระบวนการดำเนินงาน ด้านกำลังคน บุคลากรสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีจำนวนชั่วโมงทำงานเฉลี่ยต่อวันเพิ่มมากขึ้นเทียบกับช่วงก่อนการแพร่ระบาดโรค COVID-19 และจำนวนบุคลากรไม่เพียงพอในการปฏิบัติงานทุกหน่วย ด้านการติดต่อสื่อสาร เจ้าหน้าที่ภาครัฐใช้ช่องทางไลน์ในการติดต่อประสานงาน ในขณะที่คณะกรรมการชุมชนหรืออาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จะใช้วิธีการโทรศัพท์ ด้านวัสดุและครุภัณฑ์ในการปฏิบัติงาน ในกลุ่มเจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่า หน้ากาก N-95 ชุด PPE รวมถึงหน้ากากพลาสติกไม่พอใช้ ส่วนกรรมการชุมชน และ อสม.รายงานว่า หน้ากากอนามัยและเจลแอลกอฮอล์ไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน ด้านงบประมาณ เจ้าหน้าที่ภาครัฐทั้งภายใต้กระทรวงสาธารณสุขและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีความยุ่งยากในขั้นตอนการเบิกจ่ายระดับปานกลาง และเกินกว่าครึ่งของกลุ่มตัวอย่างใช้เงินส่วนตัวในการซื้อหน้ากากอนามัย เจลแอลกอฮอล์ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานและไม่ได้รับค่าตอบแทนพิเศษในการปฏิบัติหน้าที่ ด้านธรรมาภิบาล พบว่าความไม่เป็นธรรมที่มีความกังวลมากที่สุดคือการได้รับมอบหมายมากจนเกินไป ส่วนประเด็นระบบสุขภาพชุมชน พบว่า ชุมชนจะตั้งกฎระเบียบหรือข้อบังคับเพิ่มเติมในการเฝ้าระวัง ควบคุมโรค COVID-19 ในชุมชน และส่วนใหญ่ประชาชนให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือข้อบังคับเป็นอย่างดี และประชาชนมีทักษะในการควบคุมป้องกันโรคได้ดี การสร้างศักยภาพบุคลากรและระบบที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและควบคุมโรค COVID-19 พื้นที่ชายแดน ควรมุ่งเน้นการสร้างความเข้าใจระบบหรือขั้นตอนการทำงานของผู้ปฏิบัติงานอย่างทั่วถึงและพร้อมปฏิบัติงานได้จริงด้วยความมั่นใจ ภาครัฐควรเร่งรัดการสนับสนุนงบประมาณและจัดสรรวัสดุ ครุภัณฑ์ที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้แก่ประชาชนในพื้นที่ด้วยสื่อที่เหมาะสม สนับสนุนระบบการติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับพื้นที่และส่งเสริมระบบสุขภาพชุมชนโดยคนในชุมชนให้มีความเข้มแข็งมากขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectพื้นที่ชายแดนth_TH
dc.subjectระบบสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Systemsth_TH
dc.subjectบุคลากรทางการแพทย์th_TH
dc.subjectMedical Personnelth_TH
dc.subjectHealth Manpowerth_TH
dc.subjectHealth Workerth_TH
dc.subjectHealth Workforceth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectCoronavirus Infectionsth_TH
dc.subjectการติดเชื้อไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectHealth--Managementth_TH
dc.subjectการจัดการด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectกำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce)th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการประเมินศักยภาพของระบบสุขภาพในความพร้อมรับมือการระบาดโรค COVID-19 ในพื้นที่ชายแดน จังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeEvaluation of Capacities of Health Systems to Response the COVID-19 Epidemic in Border Area, Chiang Rai Provinceth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeA cross-sectional study was conducted to assess the capacities of COVID-19 prevention and control among healthcare workers and health system under the Ministry of Public Health and Ministry of Interior located in the border areas in Chiang Rai Province: Mae Fah Luang, Mae Sai, Chiang Saen, Mae Chan, Mae Suai, Wiang Pa Pao, Muang, and Chiang Khong Districts. Data were collected by validated questionnaires between April and December 2021. A total of 906 people were recruited into the study. In the aspect of management: healthcare workers working under health institutes belonging to the Ministry of Public Health, local government and health volunteers did not clearly understand the process of work. In the aspect of manpower: healthcare workers under the Ministry of Public Health reported having worked longer hours compared to the period of pre-COVID-19 epidemic, and healthcare workers shortage. In the aspect of communication: line application was favored among government officers. Mobile phones were commonly used among people in a community. In the aspect of materials for the implementation: N-95, PPE and face shield were not sufficient for working among healthcare workers, while the community members reported that masks and alcohol were not enough for them. In the aspect of budgetary: almost all government officers reported that they had a big challenge in the requesting process. Some of the officers did not get the compensation and used their personal money for buying equipment. In the governance aspect: the overload assigned from their director was the major concern. In the aspect of the health system: communities had established several commitments and agreements among them to prevent and control the disease. Moreover, most people followed the agreements. People in a community have good practices to prevent and control COVID-19. Personal and health system capacity related to COVID-19 prevention and control developments are crucial especially to people who are living in border areas. The main focus on improving the capacities are deploying processes of work in crisis situations to make them confident and accurately follow the instructions; the government sector is required to support budget sufficient and medical related materials to healthcare workers. Distribution of essential information to people should be prepared in appropriate languages. Communication channel is also one of the critical points to improve the prevention and control measures in a community. Encouraging people in a community in creating their commitments and implementing them are also very important concerns for improving the effectiveness of disease control and prevention.th_TH
dc.identifier.callnoHB886 อ231ก 2565
dc.identifier.contactno64-041
dc.subject.keywordBorder Areasth_TH
dc.subject.keywordกำลังคนด้านสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordHealthcare Workersth_TH
.custom.citationอนุสรณ์ อุดปล้อง, Anusorn Udplong, ธวัชชัย อภิเดชกุล, Tawatchai Apidechkul, ฟาติมา ยีหมาด and Fartima Yeemard. "การประเมินศักยภาพของระบบสุขภาพในความพร้อมรับมือการระบาดโรค COVID-19 ในพื้นที่ชายแดน จังหวัดเชียงราย." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5773">http://hdl.handle.net/11228/5773</a>.
.custom.total_download86
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year19
.custom.downloaded_fiscal_year1

Fulltext
Icon
Name: hs2908.pdf
Size: 3.698Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record