Show simple item record

The Proposal-Based Policy Synthesis of Social Return on Investment (SROI) in Tackling the Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) Pandemic under the District Health Board (DHB)

dc.contributor.authorพรพจน์ ศรีดันth_TH
dc.contributor.authorPornpod Sridanth_TH
dc.contributor.authorนุชนาฏ หวนนากลางth_TH
dc.contributor.authorNuchanad Hounnaklangth_TH
dc.contributor.authorอรอุมา ซองรัมย์th_TH
dc.contributor.authorOnuma Zongramth_TH
dc.date.accessioned2022-12-08T02:38:02Z
dc.date.available2022-12-08T02:38:02Z
dc.date.issued2565-11
dc.identifier.otherhs2915
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5777
dc.description.abstractการสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายจากการประเมินผลตอบแทนทางสังคมของระบบการจัดการการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภายใต้คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ผลตอบแทนทางสังคม (Social Return On Investment: SROI) ของการรับมือสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ภายใต้คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และเพื่อสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอจากการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน โดยทำการศึกษาใน 6 พื้นที่ ได้แก่ พชอ.นาทวี จังหวัดสงขลา, พชอ.บางพลี จังหวัดสมุทรปราการ, พชอ.บางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี, พชอ.สองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี, พชอ.เมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น และพชอ.แม่สาย จังหวัดเชียงราย ในการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods) โดยกระบวนการในการศึกษาประกอบไปด้วย การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Method) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Method) และการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) โดยดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลผ่านการศึกษาเอกสาร (Documentary Research) ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) การจัดสนทนากลุ่มกับผู้มีส่วนได้เสีย (Focus Group) การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interviews) และแบบสอบถาม (Questionnaire) ตลอดจนการแปลงคุณค่าทางสังคม (social value) หรือผลลัพธ์ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการดำเนินโครงการมาเป็นมูลค่าทางการเงิน (financial proxy) ผ่านการวิเคราะห์มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value) ต้นทุนและผลตอบแทนของโครงการ (Cost-Benefit Analysis) และการคำนวณผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (SROI) ด้วยอัตราคิดลดตามพันธบัตรรัฐบาล (Discount Rate) ร้อยละ 3 ผลการศึกษาผลตอบแทนทางสังคม (SROI) ของระบบการจัดการการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภายใต้คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ในช่วงปี พ.ศ. 2563-2564 โดยใช้อัตราคิดลดตามอัตราผลตอบแทนตามพันธบัตรรัฐบาล ร้อยละ 3 พบว่า 1) พชอ.สองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี มีผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (SROI) อยู่ที่ 1.59 เท่า กล่าวคือ งบประมาณ 1 บาท ที่ลงทุนในการจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ภายใต้ พชอ.สองพี่น้อง จะสร้างประโยชน์ทางสังคมด้วยมูลค่า 1.59 บาท 2) พชอ.แม่สาย จังหวัดเชียงราย มีผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (SROI) อยู่ที่ 2.58 เท่า กล่าวคือ งบประมาณ 1 บาท ที่ลงทุนในการจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ภายใต้ พชอ.แม่สาย จะสร้างประโยชน์ทางสังคมด้วยมูลค่า 2.58 บาท 3) พชอ.นาทวี จังหวัดสงขลา มีผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (SROI) อยู่ที่ 2.25 เท่า กล่าวคือ งบประมาณ 1 บาท ที่ใช้ในการจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ภายใต้ พชอ.นาทวี จะสร้างประโยชน์ทางสังคมด้วยมูลค่า 2.25 บาท 4) พชอ.เมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น มีผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (SROI) อยู่ที่ 0.98 เท่า กล่าวคือ งบประมาณ 1 บาทที่ลงทุนในการจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ภายใต้ พชอ.เมืองขอนแก่น จะสร้างประโยชน์ทางสังคมด้วยมูลค่า 0.98 บาท 5) พชอ.บางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี มีผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (SROI) อยู่ที่ 13.59 เท่า กล่าวคือ งบประมาณ 1 บาท ที่ลงทุนในการจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ภายใต้ พชอ.บางบัวทอง จะสร้างประโยชน์ทางสังคมด้วยมูลค่า 13.59 บาท และ 6) พชอ.บางพลี จังหวัดสมุทรปราการ มีผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (SROI) อยู่ที่ 13.39 เท่า กล่าวคือ งบประมาณ 1 บาท ที่ลงทุนในการจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ภายใต้ พชอ.บางพลี จะสร้างประโยชน์ทางสังคมด้วยมูลค่า 13.39 บาท ตามลำดับth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectDistrict Health Boardth_TH
dc.subjectDistrict Health Systemth_TH
dc.subjectระบบสุขภาพอำเภอth_TH
dc.subjectPublic Health Administrationth_TH
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขth_TH
dc.subjectSocial Developmentth_TH
dc.subjectการพัฒนาสังคมth_TH
dc.subjectวิจัย--แง่เศรษฐกิจth_TH
dc.subjectการประเมินโครงการth_TH
dc.subjectQuality of Lifeth_TH
dc.subjectการพัฒนาคุณภาพชีวิตth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectCoronavirus Infectionsth_TH
dc.subjectการติดเชื้อไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing)th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายจากการประเมินผลตอบแทนทางสังคมของระบบการจัดการการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภายใต้คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)th_TH
dc.title.alternativeThe Proposal-Based Policy Synthesis of Social Return on Investment (SROI) in Tackling the Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) Pandemic under the District Health Board (DHB)th_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternative“The Proposal-based Policy Synthesis of Social Return on Investment (SROI) in Tackling the Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) Pandemic under the District Health Board (DHB)” aimed to analyze the social return on Society (Social Return On Investment: SROI) of coping with the COVID-19 epidemic situation under the District Health Board (DHB) and to synthesize stakeholder analysis for policy recommendation. There are 6 DHB studies, i.e. Na Thawi DHB, Songkhla province, Bang phli DHB, Samut Prakan province, Bang Bua Thong DHB, Nonthaburi province, Song Phi Nong DHB, Suphan Buri province, Khon Kaen Muaeng DHB, Khon Kaen province, and Mae Sai DHB, Chiang Rai province. This research, there is mixed method research using the Social Return on Investment (SROI) concept of the Coronavirus Disease 2019 Epidemic Management System under the District Health Board (DHB). The study process comprised quantitative, qualitative method and participatory action research methods, using documentary research, secondary data, focus group, in-depth interviews, and questionnaires. Moreover, we use social value, financial proxy, net present value (NPV), cost-benefit analysis, and SROI calculation using a discount rate government bond 3%. The result of SROI under the Covid-19 management system of the District Health Board (DHB): 6 Case Studies during 2020-2021 with discount rate government bond 3% showed the following results: 1) Song Phi Nong DHB, Suphan Buri province has SROI of 1.59 times meaning that every one baht invested in the management system of Covid-19 under Song Phi Nong DHB has generated social value of 1.59 baht 2) Mae Sai DHB, Chiang Rai province has SROI of 2.58 times meaning that every one baht invested in the management system of Covid-19 under Mae Sai DHB has generated social value of 2.58 baht 3) Na Thawi DHB, Song Khla province has SROI of 2.25 times meaning that every one baht invested in the management system of Covid-19 under Na Thawi DHB has generated social value of 2.25 baht 4) Khon Kaen Muaeng DHB, Khon Kaen province has SROI of 0.98 times meaning that every one baht invested in the management system of Covid-19 under Khon Kaen Muaeng DHB has generated social value of 0.98 baht 5) Bang Bua Thong DHB, Nonthaburi province has SROI of 13.59 times meaning that every one baht invested in the management system of Covid-19 under Bang Bua Thong DHB has generated social value of 13.59 baht 6) Bang Phli DHB, Samut Prakarn province has SROI of 13.39 times meaning that every one baht invested in the management system of Covid-19 under Bang Bua Thong DHB has generated social value of 13.39 baht, respectively.th_TH
dc.identifier.callnoW84.6 พ246ก 2565
dc.identifier.contactno65-007
dc.subject.keywordDHBth_TH
dc.subject.keywordระบบสุขภาพระดับอำเภอth_TH
dc.subject.keywordคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอth_TH
dc.subject.keywordพชอ.th_TH
dc.subject.keywordSocial Return on Investmentth_TH
dc.subject.keywordSROIth_TH
dc.subject.keywordการประเมินผลตอบแทนทางสังคมth_TH
.custom.citationพรพจน์ ศรีดัน, Pornpod Sridan, นุชนาฏ หวนนากลาง, Nuchanad Hounnaklang, อรอุมา ซองรัมย์ and Onuma Zongram. "การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายจากการประเมินผลตอบแทนทางสังคมของระบบการจัดการการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภายใต้คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5777">http://hdl.handle.net/11228/5777</a>.
.custom.total_download74
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month2
.custom.downloaded_this_year8
.custom.downloaded_fiscal_year18

Fulltext
Icon
Name: hs2915.pdf
Size: 10.66Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record