dc.contributor.author | พูลสุข เจนพานิชย์ วิสุทธิพันธ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Poolsuk Janepanish Visudtibhan | th_TH |
dc.contributor.author | แสงทอง ธีระทองคำ | th_TH |
dc.contributor.author | Sangthong Terathongkum | th_TH |
dc.contributor.author | จิราพร ไลนิงเกอร์ | th_TH |
dc.contributor.author | Jiraporn Lininger | th_TH |
dc.contributor.author | วนาพรรณ ชื่นอิ่ม | th_TH |
dc.contributor.author | Wanaphan Chuen-im | th_TH |
dc.contributor.author | พลอยแก้ว จารุวร | th_TH |
dc.contributor.author | Ploykaew Jaruworn | th_TH |
dc.contributor.author | สุนันท์ วงศ์วิศวะกร | th_TH |
dc.contributor.author | Sunun Wongvisavakorn | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-12-27T08:56:22Z | |
dc.date.available | 2022-12-27T08:56:22Z | |
dc.date.issued | 2565-12 | |
dc.identifier.other | hs2922 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5782 | |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอาการไม่พึงประสงค์และเปรียบเทียบการมีอาการไม่พึงประสงค์กับชนิดของวัคซีนป้องกันโควิด-19 กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค และผู้สูงอายุที่มารับวัคซีนป้องกันโควิด-19 จากโรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร ถูกเลือกแบบเจาะจง จำนวน 1,254 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเผชิญหน้า ทางโทรศัพท์หรือออนไลน์ โดยใช้แบบสอบถามส่วนบุคคลและแบบสอบถามอาการไม่พึงประสงค์ ผลการศึกษาพบว่า เกือบครึ่งได้รับวัคซีน AstraZeneca+AstraZeneca ร้อยละ 48.79 ตัวอย่างผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุที่ได้รับวัคซีนต่างชนิดกัน มีอาการไม่พึงประสงค์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทั้งเข็มที่หนึ่ง (χ2=20.21, p<0.001) เข็มที่สอง (χ2=47.7, p<0.001) และวัคซีนสองเข็มที่เป็นสูตรไขว้ (χ2=50.3, p<0.001) โดย Astrazeneca+Pfizer/Moderna มีอาการไม่พึงประสงค์ภายหลังได้รับการฉีดวัคซีนมากที่สุด พบร้อยละ 67.7 แต่วัคซีนสูตร Sinovac/Sinopharm+Sinovac/Sinopharm พบเพียง ร้อยละ 28.0 ผู้ป่วยที่อายุน้อยกว่า 60 ปี และมีโรคเรื้อรังมีอาการไม่พึงประสงค์มากที่สุดแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดีและมีโรคเรื้อรังที่ได้รับวัคซีนทั้งเข็มที่หนึ่งและเข็มที่สอง (χ2=24.36, p<0.001; χ2=18.31, p<0.001) ทั้งนี้ Pfizer/Moderna เป็นวัคซีนที่ส่งผลให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์มากที่สุด ได้แก่ อาการเฉพาะที่ (ปวด บวม แดง ร้อน คันที่ฉีด) ไข้และปวดกล้ามเนื้อ คิดเป็นร้อยละ 17.4-38.7 นอกจากนี้พบตัวอย่าง จำนวน 22 คน เกิดอาการไม่พึงประสงค์ระดับรุนแรง ต้องได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นและพบแพทย์ ผลการศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการรับวัคซีนอย่างต่อเนื่อง โดยใช้วัคซีนชนิดเดิม คือ Sinovac/Sinopharm หรือ Astrazeneca ไม่ใช้สูตรไขว้ โดยเฉพาะในกลุ่มที่อายุน้อยกว่า 60 ปี และมีโรคเรื้อรังเพื่อลดอาการไม่พึงประสงค์และเพิ่มความปลอดภัย | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | วัคซีน | th_TH |
dc.subject | Vaccines | th_TH |
dc.subject | วัคซีนโควิด-19 | th_TH |
dc.subject | COVID-19 Vaccines | th_TH |
dc.subject | ภาวะแทรกซ้อน | th_TH |
dc.subject | Complications | th_TH |
dc.subject | Immunity | th_TH |
dc.subject | ภูมิคุ้มกัน | th_TH |
dc.subject | SARS-CoV-2 | th_TH |
dc.subject | COVID-19 (Disease) | th_TH |
dc.subject | โควิด-19 (โรค) | th_TH |
dc.subject | โควิด-19 (โรค)--การป้องกันและควบคุม | th_TH |
dc.subject | COVID-19--Prevention and Control | th_TH |
dc.subject | Coronaviruses | th_TH |
dc.subject | ไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.subject | Coronavirus Infections | th_TH |
dc.subject | การติดเชื้อไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Health Service System | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Health Care System | th_TH |
dc.subject | Health Policy | th_TH |
dc.subject | นโยบายสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | การบริหารสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Public Health Administration | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.title | การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์และความไม่ปลอดภัย ภายหลังการรับวัคซีนป้องกันโควิด-19 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | A Study of Adverse Events and Unsafety After Receiving Covid-19 Vaccine of Chronically Ill Patients and Elderly : Case Study of Ramathibodi Hospital, Bangkok, Thailand | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This cross-sectional research study aimed to study adverse events and unsafety after receiving types of Covid-19 vaccine. The sample of the study was people with sevem groups of chronic illnesses and older adults who received the Covid-19 vaccine from Ramathiodi Hospital, Bangkok. Purposive sampling was 1,254 cases. Data were collected by face-to-face interview, telephone, or online using the personal questionnaire and the Adverse Events questionnaire. Results showed that almost half of the participants received AstraZeneca+AstraZeneca of 48.79 %. Participants with chronic illnesses and older adults who received the different types of Covid-19 vaccine had the significant difference of adverse events both first dose (χ2=20.21, p<0.001), second dose (χ2=47.7, p<0.001), and the two-dose crossover vaccine (χ2=50.3, p<0.001). The participants who received the two-dose crossover vaccine of Astrazeneca+Pfizer/Moderna had the most adverse events of 67.7%. However, the two-dose from the same group vaccine of Sinovac/Sinopharm+Sinovac/Sinopharm reported only 28% of adverse events. People who were younger than 60 years old with chronic disease had a statistically significant difference in the greatest adverse events compared to healthy older adults with chronic disease who received both the first and second doses of the Covid-19 vaccine (χ2=24.36, p<0.001; χ2=18.31, p<0.001). In addition, Pfizer/Moderna reported the greatest adverse events of 17.4-38.7% such as local symptoms (pain, swelling, redness, hotness, itchy at the injection site), fever, and muscle pain. Moreover, twenty-two participants reported severe adverse events and need to receive first aid and visit the doctor. The results of this study suggested continuing the policy recommendations for vaccination by using the same type of vaccine Sinovac/Sinopharm or AstraZeneca. Using the cross-over type of vaccine is not recommended, especially, in-group of people who were less than 60 years old and had chronic illnesses to decrease adverse events and increase safety. | th_TH |
dc.identifier.callno | WC503 พ871ก 2565 | |
dc.identifier.contactno | 64-168 | |
dc.subject.keyword | อาการไม่พึงประสงค์ | th_TH |
dc.subject.keyword | Adverse Events | th_TH |
dc.subject.keyword | วัคซีนเข็มกระตุ้น | th_TH |
dc.subject.keyword | ภูมิต้านทาน | th_TH |
dc.subject.keyword | Sinovac | th_TH |
dc.subject.keyword | Sinopharm | th_TH |
dc.subject.keyword | Pfizer | th_TH |
dc.subject.keyword | Moderna | th_TH |
dc.subject.keyword | AstraZeneca | th_TH |
.custom.citation | พูลสุข เจนพานิชย์ วิสุทธิพันธ์, Poolsuk Janepanish Visudtibhan, แสงทอง ธีระทองคำ, Sangthong Terathongkum, จิราพร ไลนิงเกอร์, Jiraporn Lininger, วนาพรรณ ชื่นอิ่ม, Wanaphan Chuen-im, พลอยแก้ว จารุวร, Ploykaew Jaruworn, สุนันท์ วงศ์วิศวะกร and Sunun Wongvisavakorn. "การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์และความไม่ปลอดภัย ภายหลังการรับวัคซีนป้องกันโควิด-19 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5782">http://hdl.handle.net/11228/5782</a>. | |
.custom.total_download | 54 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 14 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 0 | |