แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การประเมินสถานการณ์ด้านนโยบายการป้องกันและควบคุมโรคเพื่อจัดตั้งศูนย์ควบคุมโรคติดต่อประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

dc.contributor.authorวรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัยth_TH
dc.contributor.authorWanrudee Isaranuwatchaith_TH
dc.contributor.authorLi Yang, Hsuth_TH
dc.contributor.authorHoward, Natashath_TH
dc.contributor.authorยศ ตีระวัฒนานนท์th_TH
dc.contributor.authorYot Teerawattananonth_TH
dc.contributor.authorDabak, Saudaminith_TH
dc.contributor.authorAnanthakrishnan, Aparnath_TH
dc.contributor.authorเบญจรินทร์ สันตติวงศ์ไชยth_TH
dc.contributor.authorBenjarin Santatiwongchaith_TH
dc.contributor.authorมานิต สิทธิมาตรth_TH
dc.contributor.authorManit Sittimartth_TH
dc.date.accessioned2023-05-09T08:19:00Z
dc.date.available2023-05-09T08:19:00Z
dc.date.issued2566-01
dc.identifier.otherhs2970
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5867
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาทางวิชาการ มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างคำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินงาน (Operationalisation) ขององค์กรทางด้านสุขภาพในระดับภูมิภาค ซึ่งรวมไปถึงภูมิภาคอาเซียนด้วย ความคิดริเริ่มนี้เป็นความพยายามที่จะช่วยสนับสนุนการทำงานกันเป็นหมู่คณะ ซึ่งมีความสำคัญต่อการอยู่รอด ระเบียบวิธีที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ การสังเคราะห์บทเรียนและประสบการณ์ในการดำเนินงานขององค์กรความร่วมมือทางด้านสุขภาพในระดับภูมิภาคที่มีอยู่แล้วหรือเคยจัดตั้งจากทั่วโลก โดยใช้ข้อมูลเชิงคุณภาพ เช่น ข้อมูลจากการทบทวนวรรณกรรมแบบขอบเขต (Scoping review) และประสบการณ์จากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรด้านสุขภาพระดับภูมิภาคทั่วโลก ผลจากการศึกษา พบว่า มีปัจจัยมากมายที่สามารถช่วยสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์ความร่วมมือทางด้านสาธารณสุขในระดับภูมิภาค แต่หลักๆ คือ การมีธรรมาภิบาลที่เข้มแข็ง การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงการสร้างความร่วมมือจากภายนอกองค์กร เป็นต้น การจะมีศูนย์ความร่วมมือควบคุมโรคติดต่อระดับภูมิภาคที่มีประสิทธิภาพได้ จะต้องอาศัยความเข้าใจและเห็นประโยชน์ร่วมกัน ความเชื่อใจในการแบ่งปันข้อมูลและทำงานร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิก เพื่อก่อให้เกิดการบูรณาการทุกประเทศสมาชิกภายในองค์กร ส่งเสริมความรู้สึกการเป็นเจ้าของร่วม เพิ่มขีดความสามารถของแรงงานผ่านการฝึกอบรม การแลกเปลี่ยนความรู้และการสื่อสารที่ชัดเจน ปัจจัยเสี่ยงที่ต้องคำนึงสำหรับการบริหารงานขององค์กรความร่วมมือระดับภูมิภาค คือ ความอ่อนไหวทางการเมืองในแต่ละพื้นที่ สามารถก่อให้เกิดความซับซ้อนในเรื่องต่างๆ เช่น การแบ่งปันข้อมูลและการดำเนินโครงการทางสาธารณสุขที่ต้องอาศัยการทำงานข้ามพรมแดน ดังนั้น การดำเนินงานของศูนย์ความร่วมมือดังกล่าวจึงควรจะให้ความสำคัญกับการสนับสนุนและทำงานร่วมกันกับองค์กรในระดับท้องถิ่น มากกว่าการเข้าไปกำกับแทรกแซงเพื่อเป็นผู้ไปกำหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ให้กับประเทศสมาชิก การเพิ่มขีดความสามารถและสนับสนุนการถ่ายทอดความรู้ทั้งภายในและระหว่างประเทศ และเพิ่มประสิทธิผลขององค์กร สิ่งเหล่านี้จะช่วยทำให้เกิดวัฏจักร โดยที่ความสำเร็จจะเป็นตัวสร้างภาพลักษณ์และความมั่นใจให้กับองค์กร ซึ่งจะช่วยดึงดูดผู้สนับสนุนอื่นๆ ให้มีแนวโน้มที่จะเข้ามาลงทุนทางการเงินกับองค์กรมากขึ้น ซึ่งปัจจัยทางการเงินนี้ถือว่ามีความสำคัญมากกับความยั่งยืนของการบริหารและการดำเนินงานขององค์กรth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectโรค--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectDisease--Prevention and Controlth_TH
dc.subjectระบบสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Systemsth_TH
dc.subjectการจัดการด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth--Managementth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectนโยบายด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectการประเมินผลth_TH
dc.subjectEvaluationth_TH
dc.subjectMeasurementth_TH
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขth_TH
dc.subjectPublic Health Administrationth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการประเมินสถานการณ์ด้านนโยบายการป้องกันและควบคุมโรคเพื่อจัดตั้งศูนย์ควบคุมโรคติดต่อประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้th_TH
dc.title.alternativeProposal to Conduct a Situational Assessment on Disease Prevention and Control for the Establishment of a Southeast Asia Centre for Infectious Disease Control (SEACID)th_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThe proposal to conduct a situational assessment on disease prevention and control for the establishment of a Southeast Asia Centre for Infectious Disease Control (SEACID) was an academic study, led by the Saw Swee Hock School of Public Health, National University of Singapore (NUS) and the Health Intervention and Technology Assessment Program (HITAP). This project was funded by Health Systems Research Institute (HSRI), Thailand. The project aimed to offer recommendations to operationalise the establishment of a regional centre for disease control in the Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) region and beyond. This initiative was conceptualised as a collaborative research endeavour, drawing on qualitative data such as inputs from scoping review and key informant interviews of regional health experts. The findings showed that there were many factors facilitating the operationalisation of the regional centre for disease prevention and control with the main ones included having strong governance, effective management and participation of stakeholders, as well as creating collaboration from external organisations. To have an effective regional centre for disease control and prevention, this initiative required mutual understanding of benefit, trust in sharing information, and collective work among member countries. These enablers would support the integration of differences of all country members, promote a sense of coownership, increase workforce capacity through training and knowledge sharing, and facilitate clear communication. A key risk factor to consider for the operationalisation of the centre was the political sensitivity of each area. This context could cause complications, jeopardising certain activities, such as information sharing and the implementation of public health projects which required working across borders. Therefore, the operationalisation of the centre should focus on supporting and working together with local organisations, rather than directing and intervening by setting the rules for member countries. Capacity building and support for knowledge transfer both within and among countries should be encouraged as it invigorated the efficiency and capability of the organisation. These actions would help start a cycle, where success would build image and confidence for the organisation, which, in turn, would help attract other donors to invest more in the organisation. Moreover, financial factor was considered very important for the sustainability of the management and operationalisation of the regional centre.th_TH
dc.identifier.callnoWA540.JT3 ว256ก 2566
dc.identifier.contactno64-028
dc.subject.keywordSoutheast Asia Centre for Infectious Disease Controlth_TH
dc.subject.keywordSEACIDth_TH
.custom.citationวรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย, Wanrudee Isaranuwatchai, Li Yang, Hsu, Howard, Natasha, ยศ ตีระวัฒนานนท์, Yot Teerawattananon, Dabak, Saudamini, Ananthakrishnan, Aparna, เบญจรินทร์ สันตติวงศ์ไชย, Benjarin Santatiwongchai, มานิต สิทธิมาตร and Manit Sittimart. "การประเมินสถานการณ์ด้านนโยบายการป้องกันและควบคุมโรคเพื่อจัดตั้งศูนย์ควบคุมโรคติดต่อประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5867">http://hdl.handle.net/11228/5867</a>.
.custom.total_download9
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year3
.custom.downloaded_fiscal_year1

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2970.pdf
ขนาด: 9.634Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย