แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การศึกษาเภสัชพันธุศาสตร์และเภสัชจลนศาสตร์ของกรดมัยโคฟีโนลิคและแมทาบอไลท์ (ระยะที่ 2)

dc.contributor.authorณัฐ คูณรังษีสมบูรณ์th_TH
dc.contributor.authorNut Koonrungsesomboonth_TH
dc.contributor.authorดำเนินสันต์ พฤกษากรth_TH
dc.contributor.authorDumnoensun Pruksakornth_TH
dc.contributor.authorศิริพงษ์ ตองใจth_TH
dc.contributor.authorSiripong Tongjaith_TH
dc.contributor.authorณหทัย ดูแก้วth_TH
dc.contributor.authorNahathai Dukaewth_TH
dc.contributor.authorภรัณยา ชัยวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorParunya Chaiyawatth_TH
dc.contributor.authorมิ่งขวัญ ณ ตะกั่วทุ่งth_TH
dc.contributor.authorMingkwan Na Takuathungth_TH
dc.date.accessioned2023-05-19T02:27:53Z
dc.date.available2023-05-19T02:27:53Z
dc.date.issued2566-03
dc.identifier.otherhs2972
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5873
dc.description.abstractกรดมัยโคฟีโนลิค (Mycophenolic acid, MPA) เป็นยากดภูมิคุ้มกันที่ใช้ในการป้องกันการต่อต้านการปลูกถ่ายอวัยวะและอยู่ระหว่างการศึกษาประสิทธิผลของยาต่อการต้านมะเร็งกระดูกออสทิโอซาร์โคมา อย่างไรก็ตาม พบว่า ผู้ที่ได้รับยาชนิดนี้แต่ละคนมีค่าเภสัชจลนศาสตร์ที่แปรปรวนอย่างมาก ทีมวิจัยจึงได้ทำการวิเคราะห์ความหลากหลายทางพันธุกรรมในผู้ป่วยมะเร็งกระดูกออสทิโอซาร์โคมา จำนวน 15 ราย ที่ได้รับยามัยโคฟีโนเลตโมเฟทิล (Mycophenolate mofetil, MMF) ซึ่งเป็น Prodrug ของ MPA โดยเทคนิค Whole Exome Sequencing ซึ่งทีมวิจัยพบความแตกต่างทางพันธุกรรม (variants) จำนวน 48 variants จาก 15 ยีน ที่เกี่ยวข้องกับแมทาบอลิซึมของ MPA และแมทาบอไลท์ของ MPA (MPAG) ในผู้ป่วยมะเร็งกระดูกออสทิโอซาร์โคมา โดยพบว่า variants ที่มีความสัมพันธ์กับค่าเภสัชจลนศาสตร์ของ MPA หลังได้รับ MMF แบบ single dose อย่างมีนัยสำคัญ มีจำนวน 3 variants ได้แก่ SLCO1B3 (rs4149117, T>G), SLCO1B1 (rs2306283, A>G) และ ABCG2 (rs2231142, G>T) และหลังได้รับ MMF แบบ multiple doses ณ steady state อย่างมีนัยสำคัญ มีจำนวน 5 variants ได้แก่ SLCO2B1 (rs2306168, C>T), ABCG2 (rs2231137, C>T), UGT1A8 (rs3755323, T>C), UGT1A8 (rs3755321, T>C) และ UGT1A8 (rs4148323, G>A) ซึ่ง variants ทั้งหมดเป็นการเปลี่ยนแปลงของเบสชนิด missense mutation นอกจากนี้ ทีมวิจัยได้ทำการสร้างแบบจำลองทางเภสัชจลนศาสตร์ประชากรในกลุ่มผู้ป่วยมะเร็งกระดูกออสทีโอซาร์โคมาและอาสาสมัครสุขภาพดีชาวไทย ซึ่งได้นำปัจจัยด้านพันธุกรรมมาวิเคราะห์ร่วมด้วย พบว่า เภสัชจลนศาสตร์ของยา MPA ในทั้ง 2 กลุ่มประชากรสามารถอธิบายได้ด้วยแบบจำลองเภสัชจลนศาสตร์แบบ 2 ห้อง (two-compartment model) ที่มีการขจัดยาแบบ 1st order และการเพิ่ม absorption lag time ในแบบจำลอง สำหรับการดูดซึมยาเมื่อได้รับยามัยโคฟีโนเลตโมเฟทิลแบบ multiple doses (steady state) สามารถลดค่า objective function value ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและจากผลการศึกษาโดยเภสัชจลนศาสตร์ประชากรแสดงให้เห็นว่า ค่าพารามิเตอร์ทางเภสัชจลนศาสตร์ของ MPA มีความแตกต่างกันระหว่างผู้ป่วยมะเร็งกระดูกออสทีโอซาร์โคมาและอาสาสมัครสุขภาพดี โดยในผู้ป่วยมะเร็งกระดูกออสทีโอซาร์โคมา มี CL/F และ Vc/F ของ MPA ที่ต่ำกว่าเมื่อเทียบกับอาสาสมัครสุขภาพดีและในผู้ป่วยมะเร็งกระดูกออสทีโอซาร์โคมาเองยังพบว่า ค่าพารามิเตอร์ทางเภสัชจลนศาสตร์ของ MPA มีความแตกต่างกันระหว่างหลังได้รับยา MMF แบบ single dose และ multiple doses (steady state) โดยหลังได้รับยา MMF แบบ single dose จะมีค่า CL/F และ Vc/F ของ MPA ที่สูงกว่าหลังได้รับยา MMF แบบ multiple doses (steady state) ประมาณ 2 เท่า และ 1.4 เท่า ตามลำดับth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectเภสัชพันธุศาสตร์th_TH
dc.subjectPharmacogenomicsth_TH
dc.subjectเภสัชจลนศาสตร์th_TH
dc.subjectPharmacokineticsth_TH
dc.subjectMycophenolic Acidth_TH
dc.subjectMetabolitesth_TH
dc.subjectยากดภูมิคุ้มกันth_TH
dc.subjectการปลูกถ่ายอวัยวะth_TH
dc.subjectมะเร็งกระดูกth_TH
dc.subjectBones--Cancerth_TH
dc.subjectยีนth_TH
dc.subjectGeneth_TH
dc.subjectพันธุกรรมth_TH
dc.subjectGeneticsth_TH
dc.subjectMetabolismth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการศึกษาเภสัชพันธุศาสตร์และเภสัชจลนศาสตร์ของกรดมัยโคฟีโนลิคและแมทาบอไลท์ (ระยะที่ 2)th_TH
dc.title.alternativePharmacogenomics and Pharmacokinetic Study of Mycophenolic Acid and Its Metabolite (Phase 2)th_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeMycophenolic acid (MPA) is an immunosuppressant medication used to prevent rejection following organ transplantation and is under investigation for its efficacy against osteosarcoma. We investigated the genetic variability of whole-exome sequencing (WES) data from 15 osteosarcoma patients who receive mycophenolate mofetil (MMF), a prodrug of MPA. Using whole-exome sequencing (WES), we found 48 variants from the 15 genes which are related to MPA and its metabolite (MPAG) metabolism. Three variants were found to significantly correlate with the pharmacokinetic parameters of MPA after single-dose MMF administration including SLCO1B3 (rs4149117, T>G), SLCO1B1 (rs2306283, A>G) and ABCG2 (rs2231142, G>T). Moreover, five variants were found to significantly correlate with the pharmacokinetic parameters of MPA after multiple doses of MMF administration (at steady state) including SLCO2B1 (rs2306168, C>T), ABCG2 (rs2231137, C>T), UGT1A8 (rs3755323, T>C), UGT1A8 (rs3755321, T>C) and UGT1A8 (rs4148323, G>A). All of these variants are missense mutations. In addition, in this study, we could build the population pharmacokinetic models for MPA in Thai osteosarcoma patients and healthy volunteers, which include genetic covariates. It was found that the pharmacokinetics of MPA in both populations can be described by a two-compartment pharmacokinetic model with 1st order drug elimination. Furthermore, the addition of the absorption lag time in the model for drug absorption following multiple doses of MMF (steady state) could significantly reduce the objective function value. Based on the population pharmacokinetic study, genetic factors affecting the pharmacokinetic parameters of MPA have not been identified. Based on the results of this population pharmacokinetic study, the pharmacokinetic parameters of MPA are different between healthy volunteers and osteosarcoma patients. Osteosarcoma patients had lower CL/F and Vc/F of MPA compared to healthy volunteers. Moreover, in osteosarcoma patients, it was also found that MPA pharmacokinetic parameters differed between post-administration of MMF in a single dose and multiple doses (steady state). After a single dose of MMF administration, the CL/F and Vc/F of MPA were approximately 2-fold and 1.4-fold higher than after multiple doses of MMF administration (steady state), respectively.th_TH
dc.identifier.callnoQV38 ณ321ก 2566
dc.identifier.contactno65-035
dc.subject.keywordMPAth_TH
.custom.citationณัฐ คูณรังษีสมบูรณ์, Nut Koonrungsesomboon, ดำเนินสันต์ พฤกษากร, Dumnoensun Pruksakorn, ศิริพงษ์ ตองใจ, Siripong Tongjai, ณหทัย ดูแก้ว, Nahathai Dukaew, ภรัณยา ชัยวัฒน์, Parunya Chaiyawat, มิ่งขวัญ ณ ตะกั่วทุ่ง and Mingkwan Na Takuathung. "การศึกษาเภสัชพันธุศาสตร์และเภสัชจลนศาสตร์ของกรดมัยโคฟีโนลิคและแมทาบอไลท์ (ระยะที่ 2)." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5873">http://hdl.handle.net/11228/5873</a>.
.custom.total_download6
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year1

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2972.pdf
ขนาด: 1.222Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย