Show simple item record

บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาตัวแบบระบบสุขภาพปฐมภูมิของ อบจ. และแนวทางการขับเคลื่อนการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและการมีส่วนร่วมของประชาชน: กรณีศึกษา อบจ.ปราจีนบุรี และ อบจ.สุพรรณบุรี

dc.contributor.authorธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชาth_TH
dc.contributor.authorTatchalerm Sudhipongprachath_TH
dc.contributor.authorโกเมนทร์ ทิวทองth_TH
dc.contributor.authorKomain Tewtongth_TH
dc.contributor.authorอนุวัตร แก้วเชียงหวางth_TH
dc.contributor.authorAnuwat Kaewchiangwangth_TH
dc.contributor.authorทองดี มุ่งดีth_TH
dc.contributor.authorTongdee Mungdeeth_TH
dc.contributor.authorบัณฑิต ตั้งเจริญดีth_TH
dc.contributor.authorBundit Tungcharoendeeth_TH
dc.contributor.authorภัชร์จิรัสม์ ธัชเมฆรัตน์th_TH
dc.contributor.authorPachjirat Thachmakeratth_TH
dc.date.accessioned2023-05-31T08:47:00Z
dc.date.available2023-05-31T08:47:00Z
dc.date.issued2565-10
dc.identifier.otherhs2974
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5877
dc.description.abstractการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นไปตามความพร้อมและความสมัครใจขององค์การบริหารส่วนจังหวัดซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มีองค์การบริหารส่วนจังหวัด 6 แห่ง ที่รับถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทั้งจังหวัด ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น องค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองบัวลำภู องค์การบริหารส่วนจังหวัดมุกดาหาร องค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดร้อยเอ็ดและองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี ในการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวแบบระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัดขนาดเล็กที่รับถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทั้งจังหวัดและแนวทางการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของประชาชนและหน่วยงานต่างๆ ในการจัดบริการสุขภาพ วิธีการศึกษาประกอบด้วยการสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญด้านระบบสุขภาพปฐมภูมิและการปกครองท้องถิ่น การประชุมเชิงปฏิบัติการ และการสำรวจความคิดเห็นผู้แทนบุคลากรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและตัวแทนภาคประชาชนในพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรีและจังหวัดสุพรรณบุรี ผลการศึกษาพบว่า จังหวัดปราจีนบุรีมีศักยภาพและทุนตั้งต้นในระดับที่สูงกว่าจังหวัดสุพรรณบุรี และสามารถบริหารระยะเปลี่ยนผ่าน (Transition Period) ได้ชัดเจนและมีประสิทธิภาพมากกว่า โดยพิจารณาจากทุนตั้งต้นทางการเมืองที่ผู้บริหารในจังหวัดปราจีนบุรี มี “ภาวะผู้นำร่วม (Shared Leadership)” ในขณะที่ผู้บริหารใน จังหวัดสุพรรณบุรีมี “ภาวะผู้นำคู่ขนาน (Paralleled Leadership)” นอกจากนี้ สัมพันธภาพระหว่างองค์การบริหารส่วนจังหวัดกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในจังหวัดปราจีนบุรี มีความเข้มแข็งมากกว่าจังหวัดสุพรรณบุรี และมีประสบการณ์การทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดก่อนการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและเมื่อวิเคราะห์ความพร้อมขององค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้ง 2 แห่ง ตามกรอบแนวคิด “กรอบแนวคิด “6 องค์ประกอบของระบบสุขภาพ (Six Building Blocks)” ที่ผสมผสานกับกรอบแนวคิด “10 องค์ประกอบของระบบสุขภาพปฐมภูมิที่มีสมรรถนะสูง (10 Building Blocks of a High-performing Primary Care System)” พบว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรีและสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปราจีนบุรีได้เตรียมความพร้อมมากกว่าจังหวัดสุพรรณบุรี ในด้านรูปแบบการบริการ กำลังคน ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ระบบข้อมูลสารสนเทศ การเงินและภาวะผู้นำและธรรมาภิบาลในระบบสุขภาพ คณะวิจัยใช้ข้อมูลผลการศึกษาจัดทำตัวแบบระบบสุขภาพปฐมภูมิซึ่งประกอบด้วยรูปแบบหน่วยบริหารระบบสุขภาพปฐมภูมิของกองสาธารณสุของค์การบริหารส่วนจังหวัดและระบบสุขภาพปฐมภูมิในระดับพื้นที่หรือระดับอำเภอ โดยคณะวิจัยได้จัดทำทางเลือกระบบสุขภาพปฐมภูมิไว้ 3 รูปแบบ เพื่อให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรีและองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรีพิจารณาเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมของบริบทในแต่ละพื้นที่ นอกจากนี้ งานวิจัยยังมีข้อเสนอเชิงนโยบายสำหรับองค์การบริหารส่วนจังหวัดอื่นที่ต้องการนำตัวแบบระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรีและองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรีไปประยุกต์ใช้ และข้อเสนอสำหรับส่วนราชการและหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและสำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนจังหวัดth_TH
dc.subjectองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลth_TH
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านth_TH
dc.subjectบริการปฐมภูมิ (การแพทย์)th_TH
dc.subjectPrimary Care (Medicine)th_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectHealth--Managementth_TH
dc.subjectการจัดการด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขth_TH
dc.subjectPublic Health Administrationth_TH
dc.subjectCommunity Participationth_TH
dc.subjectชุมชน--การร่วมมือth_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมของชุมชนth_TH
dc.subjectการกระจายอำนาจด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleบทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาตัวแบบระบบสุขภาพปฐมภูมิของ อบจ. และแนวทางการขับเคลื่อนการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและการมีส่วนร่วมของประชาชน: กรณีศึกษา อบจ.ปราจีนบุรี และ อบจ.สุพรรณบุรีth_TH
dc.typeDocumentth_TH
dc.identifier.contactno65-079
dc.subject.keywordHealth Decentralizeth_TH
dc.subject.keywordHealth Decentralizationth_TH
dc.subject.keywordการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขth_TH
dc.subject.keywordProvincial Administrative Organizationsth_TH
dc.subject.keywordPAOsth_TH
.custom.citationธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา, Tatchalerm Sudhipongpracha, โกเมนทร์ ทิวทอง, Komain Tewtong, อนุวัตร แก้วเชียงหวาง, Anuwat Kaewchiangwang, ทองดี มุ่งดี, Tongdee Mungdee, บัณฑิต ตั้งเจริญดี, Bundit Tungcharoendee, ภัชร์จิรัสม์ ธัชเมฆรัตน์ and Pachjirat Thachmakerat. "บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาตัวแบบระบบสุขภาพปฐมภูมิของ อบจ. และแนวทางการขับเคลื่อนการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและการมีส่วนร่วมของประชาชน: กรณีศึกษา อบจ.ปราจีนบุรี และ อบจ.สุพรรณบุรี." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5877">http://hdl.handle.net/11228/5877</a>.
.custom.total_download199
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month5
.custom.downloaded_this_year79
.custom.downloaded_fiscal_year9

Fulltext
Icon
Name: hs2974-policybrief.pdf
Size: 8.539Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record