แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การพัฒนารูปแบบการบำบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพแบบบูรณาการของการเสพแอมเฟตามีน/กัญชาในวัยรุ่นในระดับจังหวัด

dc.contributor.authorวัชรา ริ้วไพบูลย์th_TH
dc.contributor.authorWachara Riewpaiboonth_TH
dc.contributor.authorธีรศักดิ์ ศรีสุรกุลth_TH
dc.contributor.authorTeerasak Srisurakulth_TH
dc.contributor.authorธิดารัตน์ นงค์ทองth_TH
dc.contributor.authorTidarat Nongthongth_TH
dc.contributor.authorดรุณี ภู่ขาวth_TH
dc.contributor.authorDarunee Phukaoth_TH
dc.contributor.authorธีรนงค์ สกุลศรีth_TH
dc.contributor.authorTeeranong Sakulsrith_TH
dc.contributor.authorดวงดาว ศรียากูลth_TH
dc.contributor.authorDuangdao Sriyakunth_TH
dc.contributor.authorสมยศ แสวงสุขth_TH
dc.contributor.authorSomyot Savangsukth_TH
dc.contributor.authorนภาพร สันทบth_TH
dc.contributor.authorNapaporn Suntopth_TH
dc.contributor.authorกรรณิการ์ สุจริตจันทร์th_TH
dc.contributor.authorKannikar Sujaritjanth_TH
dc.contributor.authorญานิกา ศรียากูลth_TH
dc.contributor.authorYanika Sriyakunth_TH
dc.date.accessioned2023-06-13T06:35:28Z
dc.date.available2023-06-13T06:35:28Z
dc.date.issued2566-05
dc.identifier.otherhs2983
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5883
dc.description.abstractจากสถานการณ์การใช้สารเสพติดในเยาวชนในโรงเรียนที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและพบในเยาวชนที่มีอายุน้อยลงไปเรื่อยๆ จนถึงพบได้ในเยาวชนอายุ 12 ปี ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพและชีวิตในอนาคต รวมทั้งสังคมโดยรวม ทั้งนี้ ประเทศไทยมีกฎหมายและนโยบายต่างๆ ที่เอื้อต่อการแก้ปัญหา แต่การนำลงสู่การปฏิบัติยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร จังหวัดเพชรบูรณ์เป็นพื้นที่ที่ดำเนินการขานรับนโยบายการแก้ปัญหาเรื่องนี้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2558 โดยใช้แนวคิดการบูรณาการและสร้างความร่วมมือของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะหน่วยบริการในระบบสุขภาพกับสถานศึกษาในพื้นที่ แต่ก็ยังคงพบปัญหาทั้งด้านความรุนแรง และการเข้าไม่ถึงเยาวชนที่จำเป็นต้องได้รับการดูแล การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบบูรณาการการบำบัดฟื้นฟูเยาวชนในโรงเรียนที่ใช้สารเสพติดที่จะช่วยเพิ่ม “การเข้าถึง” บริการของเยาวชนและเพิ่ม “การคงอยู่” ในระบบจนบรรลุผลลัพธ์การบำบัดฟื้นฟู งานวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน และให้ความสำคัญกับข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ดำเนินการวิจัยด้วยการทบทวนวรรณกรรมและสถานการณ์ ทั้งเชิงบริบทกฎหมายและนโยบายและเชิงพื้นที่ ทำกรณีศึกษาการพัฒนารูปแบบในระดับจังหวัด ในพื้นที่อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ ที่ประกอบด้วยพื้นที่นำร่อง 9 ตำบล และพัฒนารูปแบบในโรงเรียน จำนวน 4 แห่ง โดยมีคลินิกหมอครอบครัวคลองศาลา โรงพยาบาลจังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นแม่ข่ายการเรียนรู้การวิจัยพัฒนา ผลการศึกษาพบว่า มาตรการเชิงการบำบัดที่ใช้แนวทางการปรับพฤติกรรมด้วยการพัฒนาการรู้คิดแบบความเข้มข้นต่ำ (Low-intensity Cognitive behavioral therapy, Li-CBT) และการสื่อสารหรือสัมภาษณ์เพื่อสร้างแรงจูงใจ (motivational Interviewing) สามารถนำมาใช้ในออกแบบการทำงานจิตสังคมบำบัดในโรงเรียน (school-based psychosocial therapy) ได้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการบำบัดฟื้นฟูที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน (Community-based Cognitive Behavioral Therapy, CBTx) โดยมีกลไกการเปลี่ยนแปลงที่อธิบายได้ในระดับบุคคล ทั้งนี้ ยังต้องการการศึกษาต่อยอดด้านประสิทธิผลทั้งในระดับปัจเจกบุคคล และการอธิบายกลไกการเปลี่ยนแปลงในเชิงระบบที่จะสร้าง “การเข้าถึง” และ “การคงอยู่” รวมถึงศักยภาพและความเป็นไปได้ในการขยายผลต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectเยาวชนth_TH
dc.subjectYouthsth_TH
dc.subjectTeenagersth_TH
dc.subjectTeenagers--Drug Useth_TH
dc.subjectAmphetamine Abuseth_TH
dc.subjectSubstance Abuse--Therapyth_TH
dc.subjectSubstance Abuse--Treatmentth_TH
dc.subjectกัญชาth_TH
dc.subjectCannabis Abuseth_TH
dc.subjectMarijuana Abuseth_TH
dc.subjectสารเสพติดth_TH
dc.subjectสารเสพติด--ในวัยรุ่นth_TH
dc.subjectยาเสพติดกับเยาวชนth_TH
dc.subjectยาเสพติดกับนักเรียนth_TH
dc.subjectสารเสพติด--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectผู้ติดยาเสพติด--การบำบัดฟื้นฟูth_TH
dc.subjectการเลิกยาเสพติดth_TH
dc.subjectยาเสพติดth_TH
dc.subjectยาเสพติด--การบำบัดและรักษาth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการบำบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพแบบบูรณาการของการเสพแอมเฟตามีน/กัญชาในวัยรุ่นในระดับจังหวัดth_TH
dc.title.alternativeComprehensive Treatment and Rehabilitation Model Development of Adolescence’s Drug and Substance Abuse at Provincial Levelth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThe prevalence of substance use among adolescents has been increasing and found in lower age, twelve years. It creates impacts on their health and future lives, as well as society at large. In Thailand, although there are laws and policies that supportive for problems solving but the implementation has been rather inefficient. Petchaboon province has actively put these policies into practice using integrative and collaborative concepts among all stakeholders since 2015. A community-based approach has been used particularly with school settings. However, it cannot mitigate the problems in terms of magnitude and access to treatment and rehabilitation services. This study aimed at developing a comprehensive treatment and rehabilitation model of adolescents’ drug and substance abuse at a provincial level which enhances access to care and improves retention until outcomes achievement. Community-based participatory action research approach was employed using both qualitative and quantitative data. The review of related literature and policy context, as well as an analysis of situation about drug use and access to treatment and rehabilitation of school adolescents in Petchaboon province were conducted. The participatory action case studies of community-based model were done in nine subdistrict units (Tumbol) and four school-based sites. All action sites were under supervised by the Family Medicine Unit of Petchaboon hospital. It was found that both community-based and school-based comprehensive treatment and rehabilitation model for school adolescents who use drug could be codesigned and operated by using interventions included a Low-intensity Cognitive behavioral therapy, (Li-CBT) and Motivational Interviewing (MI). The mechanism of changes at individual level could be explained while at a system level might need for further study in term of improving access and retention. It also suggested that school-based psychosocial therapy model would be an opportunity to bring in school students to actively participate as peers.th_TH
dc.identifier.callnoHV5840.T5 ว384ก 2566
dc.identifier.contactno63-109
dc.subject.keywordDrug Abstinenceth_TH
.custom.citationวัชรา ริ้วไพบูลย์, Wachara Riewpaiboon, ธีรศักดิ์ ศรีสุรกุล, Teerasak Srisurakul, ธิดารัตน์ นงค์ทอง, Tidarat Nongthong, ดรุณี ภู่ขาว, Darunee Phukao, ธีรนงค์ สกุลศรี, Teeranong Sakulsri, ดวงดาว ศรียากูล, Duangdao Sriyakun, สมยศ แสวงสุข, Somyot Savangsuk, นภาพร สันทบ, Napaporn Suntop, กรรณิการ์ สุจริตจันทร์, Kannikar Sujaritjan, ญานิกา ศรียากูล and Yanika Sriyakun. "การพัฒนารูปแบบการบำบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพแบบบูรณาการของการเสพแอมเฟตามีน/กัญชาในวัยรุ่นในระดับจังหวัด." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5883">http://hdl.handle.net/11228/5883</a>.
.custom.total_download89
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month5
.custom.downloaded_this_year49
.custom.downloaded_fiscal_year8

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2983.pdf
ขนาด: 7.716Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย