Show simple item record

Development of Thermal-Based Technique for Pharmaceutical and Medical Application – Phase 2 Development of a Prototype for Pharmaceutical Process Control

dc.contributor.authorเดโช สุรางค์ศรีรัฐth_TH
dc.contributor.authorDecho Surangsriratth_TH
dc.contributor.authorอรศิริ ศรีคุณth_TH
dc.contributor.authorOnsiri Srikunth_TH
dc.contributor.authorมนัญญา พวงลำเจียกth_TH
dc.contributor.authorMananya Puanglamjeakth_TH
dc.contributor.authorChana, Kamth_TH
dc.date.accessioned2023-09-29T06:56:45Z
dc.date.available2023-09-29T06:56:45Z
dc.date.issued2566-08
dc.identifier.otherhs3017
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5946
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นความร่วมมือระหว่างประเทศ ซึ่งประกอบด้วย 3 หน่วยงาน คือ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) องค์การเภสัชกรรม (อภ.) และ University of Oxford โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการนำเทคโนโลยีเซนเซอร์วัดคุณสมบัติทางความร้อนมาใช้งานทางด้านเภสัชกรรมและทางการแพทย์ โดยเทคโนโลยีเซนเซอร์วัดคุณสมบัติทางความร้อนสามารถวัดค่า Thermal Product (TP) ซึ่งเป็นคุณสมบัติทางความร้อนที่มีความจำเพาะในสารแต่ละชนิด โดยแปรผันตรงกับความหนาแน่นของสาร (density) ความจุความร้อนจำเพาะ (specific heat capacity) และความสามารถในการนำความร้อนของสาร (thermal conductivity) ซึ่งทาง University of Oxford ได้พัฒนาขึ้นจนสามารถนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์สำหรับงานทางอุตสาหกรรมด้านอากาศยาน ในการตรวจจับการเจือปนของโลหะในน้ำมันเครื่อง การทดลองนำมาใช้ทางด้านเภสัชกรรมและทางการแพทย์ในงานวิจัยนี้ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ การนำมาใช้ในกระบวนการควบคุมคุณภาพยาและวัตถุดิบทางยา การนำมาใช้ตรวจจับยาปลอมหรือยาที่ไม่ได้มาตรฐาน และการนำมาใช้ในกระบวนการผลิตที่เกี่ยวข้องกับกัญชาทางการแพทย์ โดยได้มีการวิจัยและพัฒนาร่วมกันเพื่อปรับปรุงระบบเซนเซอร์ให้มีความเหมาะสมกับการใช้งานมากขึ้น จากการทดลองที่ผ่านมาได้ข้อสรุปเบื้องต้นว่า เซนเซอร์ ณ ปัจจุบัน ทำงานได้ดีกับสารในรูปของเหลวและมีความไวในการตรวจวัดการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนของสารสูง จึงมีความเหมาะสมที่จะนำมาใช้ในกระบวนการควบคุมคุณภาพที่จำเป็นต้องตรวจวัดสัดส่วนของสารอย่างแม่นยำ ซึ่งจากการทดลองเพิ่มเติม รวมถึงการศึกษาความเป็นไปได้ในเชิงพาณิชย์สำหรับการใช้งานในด้านต่างๆ ในโครงการนี้ ได้สรุปว่า ระบบนั้นมีความเป็นไปได้ ทั้งทางเทคนิคและในเชิงพาณิชย์ สำหรับการใช้ในกระบวนการควบคุมคุณภาพสำหรับการผลิตยาและวัตถุดิบทางยา ซึ่งจะสามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต โดยการเพิ่มกระบวนการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพการผลิตแบบ real-time ในระหว่างขั้นตอนการผลิต เนื่องจากปัจจุบันอาศัยการตรวจคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่ปลายทางเป็นหลัก ซึ่งทีมวิจัยได้นำเสนอการนำระบบเข้าไปติดตั้งและทดสอบกับกระบวนการผลิตวัตถุดิบยาเฟอราซีร็อกซ์ (Deferasirox) ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทำวิจัยขึ้นโดย อภ. และกำลังเข้าสู่ขั้นตอนการผลิตเชิงพาณิชย์ในช่วงกลางปี พ.ศ. 2567 ซึ่งจะเป็นการใช้ผลงานวิจัยจริงในเชิงพาณิชย์ต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectยาth_TH
dc.subjectDrugsth_TH
dc.subjectเภสัชกรรมth_TH
dc.subjectPharmaceuticalth_TH
dc.subjectMedical Applicationsth_TH
dc.subjectยา--การผลิตth_TH
dc.subjectยา--มาตรฐานth_TH
dc.subjectยา--การควบคุมคุณภาพth_TH
dc.subjectเภสัชกรรมเทคโนโลยีth_TH
dc.subjectSensor Systemsth_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies)th_TH
dc.titleแผนงานการพัฒนาเซนเซอร์วัดคุณสมบัติทางความร้อนเพื่อใช้ทางด้านเภสัชกรรมและทางการแพทย์ - ระยะที่ 2 พัฒนาเซนเซอร์สำหรับทดสอบในกระบวนการผลิตth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of Thermal-Based Technique for Pharmaceutical and Medical Application – Phase 2 Development of a Prototype for Pharmaceutical Process Controlth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research is an international collaboration among three organizations: the National Science and Technology Development Agency, the Pharmaceutical Organization, and the University of Oxford. Its purpose is to study the potential use of temperature sensor technology in pharmaceutical and medical applications. Temperature sensor technology can measure Thermal Product (TP), a heat property that is specific to each type of substance, and varies with the substance's density, specific heat capacity, and thermal conductivity. The University of Oxford has developed this technology for commercial use in the aerospace industry, specifically for detecting metal contamination in engine oil. We performed a feasibility study for commercial applications in various aspects in this project. The technology is tested in three areas: quality control of pharmaceuticals and raw materials, detection of counterfeit drugs or substandard drugs, and production processes related to medical cannabis. Collaborative research has been conducted to improve the sensor system for more appropriate use. From preliminary experiments, it was concluded that the current sensor system works well with liquid substances and has high sensitivity to detect changes in substance proportions. Therefore, it is suitable for use in quality control processes that require accurate measurement of substance proportions. The system is feasible both technically and commercially for use in quality control processes for drug production and pharmaceutical raw materials. It can help increase efficiency in production by adding real-time quality inspection and control processes during production stages, as the current quality control mainly relies on final product testing. The research team has proposed to install and test the system in the production process of Deferasirox, a pharmaceutical raw material product developed by the Governmental Pharmaceutical Organization (GPO), which is entering the commercial production stage in the middle of 2024. This will be the practical application of research results for commercial use which can also be expanded in the future.th_TH
dc.identifier.callnoQV55 ด851ผ 2566
dc.identifier.contactno64-088
dc.subject.keywordPharmaceutical Managementth_TH
dc.subject.keywordThermal Productth_TH
dc.subject.keywordTPth_TH
dc.subject.keywordDeferasiroxth_TH
.custom.citationเดโช สุรางค์ศรีรัฐ, Decho Surangsrirat, อรศิริ ศรีคุณ, Onsiri Srikun, มนัญญา พวงลำเจียก, Mananya Puanglamjeak and Chana, Kam. "แผนงานการพัฒนาเซนเซอร์วัดคุณสมบัติทางความร้อนเพื่อใช้ทางด้านเภสัชกรรมและทางการแพทย์ - ระยะที่ 2 พัฒนาเซนเซอร์สำหรับทดสอบในกระบวนการผลิต." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5946">http://hdl.handle.net/11228/5946</a>.
.custom.total_download8
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year7

Fulltext
Icon
Name: hs3017.pdf
Size: 17.73Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record