Show simple item record

Determination of Factors Influencing of Zika Virus Transmission in Mosquito Vectors and Human for Effective Control of the Disease (Year 3)

dc.contributor.authorเผด็จ สิริยะเสถียรth_TH
dc.contributor.authorPadet Siriyasatienth_TH
dc.contributor.authorไกรศักดิ์ เกษรth_TH
dc.contributor.authorKraisak Kesornth_TH
dc.contributor.authorอัจฉรา ภูมีth_TH
dc.contributor.authorAtchara Phumeeth_TH
dc.date.accessioned2023-11-14T01:43:03Z
dc.date.available2023-11-14T01:43:03Z
dc.date.issued2566-09
dc.identifier.otherhs3029
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5965
dc.description.abstractโรคไข้ซิกาเป็นโรคที่เกิดจากไวรัสที่นำโดยแมลงที่เกิดการอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ ซึ่งไวรัสจะถูกส่งผ่านไปยังมนุษย์โดยผ่านการกัดของยุง ซึ่งไม่นานมานี้ไวรัสซิกาได้พบอุบัติใหม่ขึ้นในประเทศไทยและพบอีกหลายๆ ประเทศ โดยเฉพาะประเทศในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน เป็นที่ทราบกันดีว่าโรคติดเชื้อดังกล่าวเป็นโรคที่ไม่มีวัคซีนป้องกันและไม่มียารักษาที่เฉพาะ ดังนั้นการควบคุมการเกิดโรคที่มีประสิทธิภาพจึงเป็นเพียงการควบคุมแมลงพาหะ อีกทั้งเพื่อเข้าใจวงจรการแพร่กระจายของไวรัส ยุงและคน การศึกษานี้จึงต้องการเสนอดังนี้ 1) ข้อมูลอัตราการติดเชื้อไวรัสซิกาในยุงในแต่ละฤดูกาลเพื่อทำนายการระบาดของโรค และข้อมูลไวรัสชิคุนกุนยาในยุงจากแหล่งระบาดในกรุงเทพมหานคร และ 2) พัฒนาชุดตรวจวินิจฉัยระดับโมเลกุลของไวรัสซิกาในยุงที่พบในประเทศไทย จากการศึกษา ตรวจพบสารพันธุกรรมของไวรัสซิกาและชิคุนกุนยาในตัวอย่างยุงที่เก็บจากแหล่งระบาด 4 จังหวัดที่เสนอไว้ด้วยวิธี hn-RT-PCR จำนวนที่น้อยมาก อย่างไรก็ตามสามารถตรวจพบไวรัสชิคุนกุนยาในแหล่งระบาดของพื้นที่กรุงเทพมหานคร และได้ทำการศึกษา whole genome sequence จากตัวอย่างยุงในกรุงเทพมหานคร นอกจากนี้ยังสามารถพัฒนาชุดตรวจวินิจฉัยไวรัสซิกา Zika-RT-LAMP (SYBR) ที่มีความจำเพาะและความไวต่อไวรัสซิกาในยุง โดยตรวจได้ความเข้มข้นต่ำสุดที่ 10-6 ffu/ml และไม่เกิดการจับกับไวรัสชนิดอื่นในกลุ่มอาร์โบไวรัส นอกจากนี้ผู้วิจัยได้ใช้ข้อมูลโรคไข้เลือดออกเป็นข้อมูลต้นแบบในการทดสอบกับแบบจำลองที่พัฒนาขึ้นได้ดี โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ซึ่งอยู่ในรูปแบบของออนโทโลยีในการปรับปรุงประสิทธิภาพการจำแนกข้อมูลของอัลกอริทึมต้นไม้ตัดสินใจได้ ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้สามารถนำมาใช้ร่วมกันในการป้องกัน ควบคุมและการทำนายการระบาดของไวรัสซิกาได้อย่างมีประสิทธิภาพth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectไวรัสซิกาth_TH
dc.subjectZika Virusth_TH
dc.subjectไวรัสชิคุนกุนยาth_TH
dc.subjectChikungunya Virusth_TH
dc.subjectยุงth_TH
dc.subjectMosquitoth_TH
dc.subjectหญิงตั้งครรภ์th_TH
dc.subjectทารกในครรภ์--ความผิดปกติth_TH
dc.subjectโรคติดต่อ--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการวิจัยปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่เชื้อไวรัสซิกา เพื่อประยุกต์ใช้ในการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ (ปีที่ 3)th_TH
dc.title.alternativeDetermination of Factors Influencing of Zika Virus Transmission in Mosquito Vectors and Human for Effective Control of the Disease (Year 3)th_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeZika (ZIKV) is emerging and re-emerging arboviral diseases. These viruses are transmitted to humans through the bites of Aedes mosquitoes. Recently, ZIKV infection has been described as an emerging disease in Thailand and many countries, especially in tropical and sub-tropical areas. The specific drugs and vaccines against these infections are unavailable; therefore, effective disease control relies on vector control measures only. To understand the transmission cycle of these viruses, mosquito vectors and human. This study is designed 1) to determine seasonal ZIKV infection rates in mosquitoes for prediction the outbreak of ZIKV infection, and 2) to develop and validate a Zika-RT-LAMP (SYBR). The present studies detected very few positive samples of ZIKV and chikungunya viruses in mosquitoes by hn-RT-PCR, collected from 4 provinces which were proposed. However, we detected the chikungunya virus in mosquito samples collected from the outbreak areas in Bangkok, and we successfully performed whole genome sequencing with these samples. The Zika-RT-LAMP (SYBR) assay showed high sensitivity and specificity. The detection limit of the ZIKV-RT-LAMP assay was 10-6 ffu/ml and detected the Asian lineage of ZIKV RNA without cross-reactivity with other arthropod-borne viruses. In addition, the researchers used dengue fever data as a prototype to test the developed model by applying ontology to enhance the classification efficiency of decision tree algorithms. These findings have provided information regarding pathogen-pathogen interaction in host cell. The data from this study could be used for future development of more effective prevention, control strategies, and predict outbreaks of ZIKV in Thailand.th_TH
dc.identifier.callnoWC100 ผ761ก 2566
dc.identifier.contactno64-156
dc.subject.keywordZIKVth_TH
.custom.citationเผด็จ สิริยะเสถียร, Padet Siriyasatien, ไกรศักดิ์ เกษร, Kraisak Kesorn, อัจฉรา ภูมี and Atchara Phumee. "การวิจัยปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่เชื้อไวรัสซิกา เพื่อประยุกต์ใช้ในการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ (ปีที่ 3)." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5965">http://hdl.handle.net/11228/5965</a>.
.custom.total_download9
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year7
.custom.downloaded_fiscal_year9

Fulltext
Icon
Name: hs3029.pdf
Size: 3.347Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record