Show simple item record

Extended Use of Negative Pressure Chamber for Home and Community Isolation Preventing the Spread of Respiratory Infection in the Situation of the Covid-19 Epidemic

dc.contributor.authorศราวุธ เลิศพลังสันติth_TH
dc.contributor.authorSarawut Lerspalungsantith_TH
dc.contributor.authorฉัตรชัย ศรีสุรางค์กุลth_TH
dc.contributor.authorChadchai Srisurangkulth_TH
dc.contributor.authorพรพิพัฒน์ อยู่สาth_TH
dc.contributor.authorPornpipat Yoosath_TH
dc.contributor.authorณรงค์ฤทธิ์ สืบนันตาth_TH
dc.contributor.authorNarongrit Suebnuntath_TH
dc.contributor.authorประสิทธิ์ วัฒนวงศ์สกุลth_TH
dc.contributor.authorPrasit Wattanawongsakunth_TH
dc.contributor.authorธีระพงษ์ บุญมาth_TH
dc.contributor.authorTeerapong Boonmath_TH
dc.contributor.authorพีรกิตติ์ วิริยะรัตนศักดิ์th_TH
dc.contributor.authorPerakit Viriyarattanasakth_TH
dc.contributor.authorฝอยฝน ศรีสวัสดิ์th_TH
dc.contributor.authorFoifon Srisawatth_TH
dc.contributor.authorสุธิมา สุขอ่อนth_TH
dc.contributor.authorSuthima Suk-onth_TH
dc.contributor.authorฮาซียะห์ แวหามะth_TH
dc.contributor.authorHaziyah Waehamath_TH
dc.contributor.authorเปริน วันแอเลาะth_TH
dc.contributor.authorPerin Wan-ae-lohth_TH
dc.contributor.authorดวงกมล วรเกษมศักดิ์th_TH
dc.contributor.authorDuanggamon Vorakasemsakth_TH
dc.date.accessioned2023-11-17T03:36:42Z
dc.date.available2023-11-17T03:36:42Z
dc.date.issued2566-09
dc.identifier.otherhs3044
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5971
dc.description.abstractจากที่คณะวิจัยได้มีการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเต็นท์ความดันลบสำหรับแยกผู้ป่วยติดเชื้อ (Patient Isolation Chamber for Home & Community Isolation) หรือ “ไฮพีท HI PETE” ขึ้นมาในช่วงสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ซึ่งเป็นนวัตกรรมห้องแยกผู้ป่วยที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อให้ตอบโจทย์สถานการณ์โรคติดเชื้ออุบัติซ้ำอุบัติใหม่ที่มีความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อทางเดินหายใจ อาทิ โควิด-19 ไข้หวัดใหญ่ วัณโรค ด้วยเป้าหมายหลักคือการแยกผู้ป่วย (Isolation) เพื่อการรักษาพยาบาลหรือกักตัวประเมินความเสี่ยง ในโครงการนี้คณะวิจัยได้ต่อยอดและขยายผลการใช้งานเต็นท์ความดันลบสำหรับแยกผู้ป่วยไปในสถานพยาบาลและพื้นที่ต่างๆ ที่มีการจัดการดูแลผู้ป่วยแบบ Home Isolation รวมไปถึงการรักษาฉุกเฉินที่จำเป็นต้องมีห้องแยกผู้ป่วยในขั้นตอนการเฝ้าดูอาการหรือการรักษา แต่ไม่มีห้องแยกและบำบัดอากาศที่ติดเชื้อ ซึ่งคณะวิจัยได้มีการออกแบบและพัฒนาเต็นท์ความดันลบให้เหมาะกับบริบทการใช้งานของบุคลากรทางการแพทย์ มีน้ำหนักเบา ติดตั้งง่าย เคลื่อนย้ายง่าย สามารถย้ายไปติดตั้งเป็นห้องรักษาพยาบาลที่มีความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายของเชื้อเป็นการชั่วคราวได้ สามารถปรับเลือกรูปแบบและขนาดเต็นท์ได้เหมาะสมตามขนาดพื้นที่ มีช่องหน้าต่างสำหรับสื่อสารระหว่างผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์ ช่วยลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายเชื้อระหว่างผู้ป่วยกับบุคลากรทางการแพทย์ที่ปฏิบัติงาน ลดระยะเวลา ลดภาระงาน ลดความเสี่ยงในการติดเชื้อของบุคลากรตลอดจนทำความสะอาดได้ง่าย รวมทั้งได้มีการนำเข้าสู่กระบวนการทดสอบทั้งด้านประสิทธิภาพการกรองเชื้อ และความปลอดภัยทางไฟฟ้าให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ในขอบเขตของโครงการนี้ คณะวิจัยได้ดำเนินการทดสอบต้นแบบทั้งในด้านประสิทธิภาพระบบระบายอากาศ ระบบกรองอากาศประสิทธิภาพสูง (High efficiency air filtration) ตามมาตรฐาน ISO 14644 ด้านความปลอดภัยของระบบไฟฟ้าเครื่องมือแพทย์ IEC 60601-1 และ IEC 60601-1-2 และทดสอบด้านการใช้งานในสถานการณ์จริงที่สถานพยาบาล 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลมงกุฎวัฒนะ กรุงเทพฯ โรงพยาบาลเซนต์เมรี่ จังหวัดนครราชสีมา และโรงพยาบาลไทรงาม จังหวัดกำแพงเพชร โดยใช้งานเต็นท์ความดันลบในพื้นที่ต่างๆ ตามภารกิจ ได้แก่ จุดคัดกรอง (พ่นยา ดูดเสมหะผู้ป่วย) ห้องฉุกเฉิน (Emergency Room, ER) (ทำหัตถการผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ สายน้ำเกลือ) และห้องทำคลอดทารก (ทำหัตถการผู้ป่วยด้วยเครื่องมือแพทย์ที่ใช้ทำคลอด) เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสหรือโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจของผู้ป่วยที่เข้ามารักษาพยาบาล โดยจากผลการทดสอบการใช้งาน พบว่า เต็นท์ความดันลบที่พัฒนาสามารถนำไปใช้ในภารกิจต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและได้รับการยอมรับจากผู้ใช้ โดยมีการใช้งานต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ คณะวิจัยได้จัดแนวทางการพัฒนาต่อยอดสำหรับการผลิตเชิงพาณิชย์ (Commercial-scale prototype) ประกอบด้วยแบบเชิงวิศวกรรม (Engineering drawings) รายการวัสดุสำหรับการผลิต (Bills of Materials) โครงสร้างต้นทุนสำหรับการผลิต (Cost structure) พร้อมทั้งคู่มือสำหรับการผลิต เพื่อเป็นข้อมูลตั้งต้นให้แก่ผู้ประกอบการในประเทศที่เข้ามารับถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึ่งเป็นการช่วยลดความเสี่ยงให้แก่ผู้ประกอบการในประเทศไทยและลดระยะเวลาในการขยายตลาดในประเทศให้มีการใช้งานในวงกว้างยิ่งขึ้นต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectCoronavirus Infectionsth_TH
dc.subjectการติดเชื้อไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectCOVID-19--Prevention and Controlth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies)th_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการขยายผลการใช้งานต้นแบบเต็นท์ความดันลบสำหรับแยกผู้ป่วย เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางเดินหายใจในสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19th_TH
dc.title.alternativeExtended Use of Negative Pressure Chamber for Home and Community Isolation Preventing the Spread of Respiratory Infection in the Situation of the Covid-19 Epidemicth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeDuring the COVID-19 pandemic, MTEC researchers developed “HI PETE”, patient isolation chamber for Home & Community Isolation, a device for isolating patients with respiratory tract problems, which is crucial as it helps reduce the infection, numbers of medical personnel while transferring patients, and time, as well as protect their safety while taking good care of the COVID-19 patients. Most of negative pressure isolation chambers or tents are currently expensive and have various limitations, like, most designs are heavy and it takes time to install. Therefore, they are not practical due to high costs for maintenance, and lack of quality testing and certification of equipment in safety and performance. The HI PETE consists of 2 main parts; a clear plastic patient isolation room and a negative pressure unit designed to control the air circulation inside the chamber. This HI PETE innovation is developed in consideration of local manufacture, reduction of shortage necessary medical equipment, and future improvement on the medical devices in accordance with global safety standards. The HI PETE is designed efficiently and approved after being reviewed along with literature and solution ideas gathered from concerned parties. The outcomes attached with this innovation are an air circulation system, a high-efficiency particulate air filter (HEPA filter), and a UV-C light sterilization system. From a study of current problems and reviews by actual users from 3 sampling institutions: Mongkutwattana hospital (Bangkok), Saint Mary hospital (Nakhon Ratchasima) and Sai-ngam hospital (Kampangpetch). Different types of HI PETE chambers are used both in emergency department to treat COVID-19 patients using spray medicine, and in COVID-19 pre-screening station. Especially in Sai-ngam hospital (Kampangpetch), the HI PETE is applied in obstetrics gynecology department. Based on the user feedbacks, the MTEC research team had digested and concluded for specification of the equipment which its main characteristics or essential features of a product are as lightweight, quick and easy to install, compatible with existing medical equipment such as respirator, infusion pump. Foldable chamber requires small space to keep and be easy to transport. Pre-inlet filter prevents redundant disease. Chamber gloves ensure safe patient manipulation and additional ports for connection external medical devices Complies with ISO 14644 standard (Clean room and associated controlled environments), IEC 60601-1 standard (electrical safety testing standard for medical devices) and IEC 60601-1-2 (electromagnetic compatibility).th_TH
dc.identifier.callnoWC503 ศ169ก 2566
dc.identifier.contactno65-024
dc.subject.keywordเต็นท์ความดันลบth_TH
dc.subject.keywordNegative Pressure Chamberth_TH
dc.subject.keywordการแยกผู้ป่วยth_TH
dc.subject.keywordIsolationth_TH
dc.subject.keywordHome Isolationth_TH
dc.subject.keywordHIth_TH
dc.subject.keywordแยกกักตัวที่บ้านth_TH
dc.subject.keywordไฮพีทth_TH
dc.subject.keywordHI-PETEth_TH
.custom.citationศราวุธ เลิศพลังสันติ, Sarawut Lerspalungsanti, ฉัตรชัย ศรีสุรางค์กุล, Chadchai Srisurangkul, พรพิพัฒน์ อยู่สา, Pornpipat Yoosa, ณรงค์ฤทธิ์ สืบนันตา, Narongrit Suebnunta, ประสิทธิ์ วัฒนวงศ์สกุล, Prasit Wattanawongsakun, ธีระพงษ์ บุญมา, Teerapong Boonma, พีรกิตติ์ วิริยะรัตนศักดิ์, Perakit Viriyarattanasak, ฝอยฝน ศรีสวัสดิ์, Foifon Srisawat, สุธิมา สุขอ่อน, Suthima Suk-on, ฮาซียะห์ แวหามะ, Haziyah Waehama, เปริน วันแอเลาะ, Perin Wan-ae-loh, ดวงกมล วรเกษมศักดิ์ and Duanggamon Vorakasemsak. "การขยายผลการใช้งานต้นแบบเต็นท์ความดันลบสำหรับแยกผู้ป่วย เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางเดินหายใจในสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5971">http://hdl.handle.net/11228/5971</a>.
.custom.total_download12
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year8
.custom.downloaded_fiscal_year3

Fulltext
Icon
Name: hs3044.pdf
Size: 15.07Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record