Show simple item record

Development of a Tele-Neuropsychological Test Battery Using Automated Speech and Language Features-Based Analyses and Machine Learning for Classifying Community-Dwelling Older Adults with Mild Cognitive Impairment in Eastern Region

dc.contributor.authorพีร วงศ์อุปราชth_TH
dc.contributor.authorPeera Wongupparajth_TH
dc.contributor.authorภัทราวดี มากมีth_TH
dc.contributor.authorPattrawadee Makmeeth_TH
dc.contributor.authorพรชัย จูลเมตต์th_TH
dc.contributor.authorPornchai Jullamateth_TH
dc.date.accessioned2023-12-14T04:24:39Z
dc.date.available2023-12-14T04:24:39Z
dc.date.issued2566-07-31
dc.identifier.otherhs3051
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5980
dc.description.abstractการเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุและระบบสาธารณสุขปัจจุบันทำให้ประชาชนโดยทั่วไปอายุยืนยาวขึ้น เช่นเดียวกับจำนวนผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อมที่เพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย แต่แนวทางที่ได้รับความสนใจในปัจจุบัน คือ การคัดกรองตั้งแต่อยู่ในช่วงภาวะปริชานบกพร่องเล็กน้อยเพื่อรักษาหรือชะลออาการของโรค โดยพิจารณาเสียงพูดและภาษา ซึ่งพบว่ามักผิดปกติก่อนอาการหรือการทำงานของสมองส่วนอื่นๆ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาชุดแบบทดสอบประสาทจิตวิทยาอิงเสียงพูดและภาษาและทดสอบประสิทธิภาพของชุดแบบทดสอบที่พัฒนาขึ้นในกลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน 403 คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มผู้สูงอายุปกติ จำนวน 252 คน และผู้สูงอายุที่มีภาวะปริชานบกพร่องเล็กน้อย จำนวน 151 คน หากจำแนกตามระยะที่ทดสอบ ระยะที่ 1 ประกอบด้วยกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุทั้งหมด จำนวน 300 คน แบ่งเป็นผู้สูงอายุปกติ จำนวน 196 คน และผู้สูงอายุที่มีภาวะปริชานบกพร่องเล็กน้อย จำนวน 104 คน สำหรับระยะที่ 2 ประกอบด้วยกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุทั้งหมดจำนวน 103 คน แบ่งเป็นผู้สูงอายุปกติ จำนวน 56 คน และผู้สูงอายุที่มีภาวะปริชานบกพร่องเล็กน้อย จำนวน 47 คน เครื่องมือที่ใช้ในการจำแนกกลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน 6 แบบทดสอบ/ประเมิน ได้แก่ แบบสอบถามความจำรำพัน แบบประเมินภาวะสมองเสื่อมของแมททิส ฉบับที่ 2 ชุดแบบทดสอบความจำของเวสเลอร์โดยใช้แบบทดสอบย่อยความจำเชิงตรรกะแบบที่ 1 และ 2 แบบประเมินภาวะปริชานบกพร่องเล็กน้อย แบบประเมินกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน และที่ต้องใช้เครื่องมือช่วย ส่วนเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบกลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน 2 แบบ/เครื่อง ได้แก่ ชุดแบบทดสอบประสาทจิตวิทยาอิงเสียงพูดและภาษา ประกอบไปด้วย 10 ตอนย่อย และอุปกรณ์บันทึกเสียงพูด ได้แก่ ไมโครโฟนบันทึกเสียง (สำหรับระยะที่ 1) โทรศัพท์มือถือ/แท็บเล็ตพีซี (สำหรับระยะที่ 2) ผลการวิจัยพบว่า ชุดแบบทดสอบที่พัฒนาขึ้นมีความเที่ยงในระดับดีจนถึงดีมาก มีความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ในระดับค่อนข้างน้อยจนถึงปานกลาง และมีความตรงเชิงทำนายในระดับที่ยอมรับได้ทั้ง 2 ระยะ เมื่อวิเคราะห์ด้วยการเรียนรู้ของเครื่อง โดยพารามิเตอร์ภาษามีความสามารถในการจำแนกผู้สูงอายุปกติออกจากที่มีภาวะปริชานบกพร่องเล็กน้อยดีกว่าพารามิเตอร์เสียงพูด ขณะเดียวกันผลการทดสอบในระยะที่ 1 มีประสิทธิภาพในการจำแนกมากกว่าระยะที่ 2 ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงนำข้อมูลที่ได้มาพัฒนาโปรแกรมแปลผลการทดสอบแบบอัตโนมัติและใช้ฐานข้อมูลแตกต่างกันระหว่างระยะที่ 1 และ 2th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectElderlyth_TH
dc.subjectAgingth_TH
dc.subjectOlder Peopleth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectสมองเสื่อมth_TH
dc.subjectภาวะสมองเสื่อมth_TH
dc.subjectสมองเสื่อม--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectสมองเสื่อม--ในวัยชราth_TH
dc.subjectMild Cognitive Impairmentth_TH
dc.subjectโทรจิตth_TH
dc.subjectArtificial Intelligenceth_TH
dc.subjectปัญญาประดิษฐ์th_TH
dc.subjectMachine Learningth_TH
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์th_TH
dc.subjectApplication Softwareth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleโทรจิต การพัฒนาชุดแบบทดสอบประสาทจิตวิทยาทางไกลอิงเสียงพูดและภาษาแบบอัตโนมัติ ด้วยการเรียนรู้ของเครื่องสำหรับจำแนกผู้สูงอายุที่มีภาวะปริชานบกพร่องเล็กน้อยในชุมชนภาคตะวันออกth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a Tele-Neuropsychological Test Battery Using Automated Speech and Language Features-Based Analyses and Machine Learning for Classifying Community-Dwelling Older Adults with Mild Cognitive Impairment in Eastern Regionth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeA Rapid increase of older persons and improving public health system may affect life expectancy as well as a higher number of older adults with dementia. Nonetheless, a promising approach is to adopt a strategy of early detection and intervention for providing treatments or delaying the symptoms. By considering speech and language deficits has been evident of early decline of the brain in relative to other functions, the current study aimed to develop a tele-neuropsychological test battery using speech and language-based parameters and validate it in 403 community-dwelling older adults. All participants were divided into 252 healthy controls (HC) and 151 older adults with mild cognitive impairment (MCI). Also, all participants could be divided into two phases, that is, lab- and community-based testing. The lab-based testing composed of 300 community-dwelling older adults (i.e., 196 HCs and 104 MCIs) and the community-based testing consisted of 103 community-dwelling older adults (i.e., 56 HCs and 47 MCIs). Standardized neuropsychological tests were used to classify older adults with MCI. The given tests composed of the subjective memory complaint questionnaire, the Mattis dementia rating scale-2, the Wechsler’s memory scale –Logical memory I & II, the Montreal cognitive assessment, the activities of daily living and the Instrumental activities of daily living checklists. The tele-neuropsychological test battery consists of 10 subtests and a voice recorder for phase 1 and smartphones/tablet PCs for phase 2. The main findings revealed that the developed test battery produced good-to-very good reliability, small-to-moderate criterion validity, and acceptable predictive validity by using machine learning algorithms for both phases. Furthermore, language-based parameters outperformed speech-based parameters across settings. Whilst the 1st phase demonstrated a better classification than those of the 2nd phase. Thus, the automated scoring program was developed based on the unique findings from both phases.th_TH
dc.identifier.callnoWM220 พ791ท 2566
dc.identifier.contactno65-006
dc.subject.keywordTele-Neuropsychologicalth_TH
dc.subject.keywordMCIth_TH
dc.subject.keywordปริชานบกพร่องth_TH
.custom.citationพีร วงศ์อุปราช, Peera Wongupparaj, ภัทราวดี มากมี, Pattrawadee Makmee, พรชัย จูลเมตต์ and Pornchai Jullamate. "โทรจิต การพัฒนาชุดแบบทดสอบประสาทจิตวิทยาทางไกลอิงเสียงพูดและภาษาแบบอัตโนมัติ ด้วยการเรียนรู้ของเครื่องสำหรับจำแนกผู้สูงอายุที่มีภาวะปริชานบกพร่องเล็กน้อยในชุมชนภาคตะวันออก." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5980">http://hdl.handle.net/11228/5980</a>.
.custom.total_download30
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year26
.custom.downloaded_fiscal_year3

Fulltext
Icon
Name: hs3051.pdf
Size: 8.134Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record