Show simple item record

Building Community Health System Resilience through Home Isolation and Community Isolation Development in Response to COVID-19 and Emerging Diseases: A Case Study of Bangkok Metropolitan Area

dc.contributor.authorกันยพัชร์ ธนกุลวุฒิโรจน์th_TH
dc.contributor.authorKunyaphat Thanakunwutthirotth_TH
dc.contributor.authorมรกต วรชัยรุ่งเรืองth_TH
dc.contributor.authorMorakot Worachairungreungth_TH
dc.contributor.authorณยศ กุลพานิชth_TH
dc.contributor.authorNayot Kulpanichth_TH
dc.contributor.authorวลัยพร ผ่อนผันth_TH
dc.contributor.authorWalaiporn Phonphanth_TH
dc.date.accessioned2024-01-25T07:43:56Z
dc.date.available2024-01-25T07:43:56Z
dc.date.issued2567-01
dc.identifier.otherhs3063
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/6002
dc.description.abstractการศึกษาพัฒนารูปแบบระบบสุขภาพชุมชนที่เหมาะสมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพและภัยสุขภาพผู้ป่วยโรคโควิด-19 และโรคอุบัติใหม่ในระบบแยกกักตัวที่บ้านและชุมชน: กรณีพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาพัฒนากลไกและรูปแบบระบบสุขภาพชุมชนที่เหมาะสมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพและภัยสุขภาพ 2) เพื่อสร้างชุดองค์ความรู้ในการพัฒนาความเข้มแข็ง กลไกการแก้ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และโรคติดต่ออุบัติใหม่เชิงพื้นที่ระดับบ้านและชุมชน 3) เพื่อสร้างสื่อประชาสัมพันธ์การรับมือกับโรคระบาดหรือภัยสุขภาพที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ระดับบ้านและชุมชน โดยมีสถานที่ทำการวิจัย ทดลองและเก็บข้อมูล ประกอบด้วยสภาพแวดล้อมและผู้อยู่อาศัยในชุมชน จำนวน 4 ชุมชนต้นแบบ คือ ชุมชนบ้านเอื้ออาทรคู้บอน 27, ชุมชนวัดไตรรัตนาราม, ชุมชนร่วมพัฒนา 33 และชุมชนลำชะล่า โดยทั้ง 4 ชุมชน มีความพร้อมและมีกลไกและรูปแบบเฉพาะในการตอบโต้และรับมือกับการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 รวมถึงมีระบบการจัดการด้วยเครือข่ายชุมชนที่เข้มแข็งและมีเครือข่ายความร่วมมือทั้งภายในและภายนอกชุมชนในการตอบโต้กับภาวะฉุกเฉินในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ผ่านมา ผลจากการศึกษา พบว่า ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย มาตรการ และการบริหารจัดการของระบบการเสริมสร้างความมั่นคงทางสุขภาพของประเทศ ประกอบด้วย 1) ส่งเสริมการสร้างองค์ความรู้ในการพัฒนาความเข้มแข็ง กลไกการแก้ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และโรคติดต่ออุบัติใหม่เชิงพื้นที่ระดับบ้านและชุมชน 2) พัฒนาแนวทางการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการของชุมชนและครัวเรือน ในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพและภัยสุขภาพ และการแก้ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และโรคติดต่ออุบัติใหม่เชิงพื้นที่ระดับบ้านและชุมชน 3) ทุกชุมชนควรมีการจัดตั้งศูนย์ประสานงาน รับเรื่องของประชาชนในชุมชนและการประชาสัมพันธ์ด้านสุขภาพและภัยสุขภาพ ตามมาตรการของรัฐ หรือ มาตรการของชุมชน 4) ขยายผล ต้นแบบการพัฒนาระบบแจ้งเตือนและระบบแจ้งทรัพยากรที่จำเป็นที่มีอยู่ในชุมชน สำหรับช่วยเหลือประชาชนในชุมชนในช่วงสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสุขภาพ และ 5) ขยายผลต้นแบบการจัดทำฐานข้อมูลสำหรับจัดเก็บพิกัดเชิงพื้นที่ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานด้านการดูแลชุมชนโดยชุมชน (Community Isolation ) ด้วยระบบ GIS โดยสามารถแสดงผลบนเว็บไซต์ได้ สามารถบริหารจัดการการดูแลผู้ป่วยในชุมชนได้อย่างทั่วถึง และรวดเร็ว ด้วยระบบที่ทันสมัยและใช้งานได้ง่าย จัดระบบกลไกเครือข่ายการประสานความร่วมมือของเครือข่ายด้านสุขภาพภายในชุมชนและภายนอกชุมชน รวมถึงหน่วยงานและมูลนิธิที่เกี่ยวข้อง และมีความพร้อมในการช่วยเหลือด้านสุขภาพในมิติต่างๆ ทั้งนี้ ได้ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย มาตรการและการบริหารจัดการทางการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการของชุมชนและครัวเรือน ประกอบด้วย 1) จัดทำบัญชีประชากรด้านสุขภาพในชุมชน รวมถึงประชากรแฝงในชุมชนด้วย 2) ชุมชนควรมีการจัดทำผังชุมชน ระบุพิกัดเชิงพื้นที่รายหลังคาเรือน 3) มีสถานที่พักพิงในชุมชน ทุกชุมชนควรมีสถานที่พักพิงสำหรับผู้ป่วย หากเกิดสถานการณ์การแพร่ของโรคระบาดและหากสถานพยาบาลไม่เพียงพอ จะได้มีที่พักพิงให้กับคนในชุมชน หรือสถานที่พักพิงในชุมชนละแวกบ้าน 4) จัดทำฐานข้อมูลชุมชน สำหรับจัดเก็บพิกัดเชิงพื้นที่ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานด้านการดูแลชุมชนโดยชุมชน (Community Isolation) 5) ชุมชนควรมีระบบแจ้งเตือน และแชร์ข้อมูลทรัพยากรในชุมชน 6) ประชาชนในชุมชนควรดูแลสถานที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมภายในชุมชนให้มีการถ่ายเทของอากาศที่ดี 7) ทุกชุมชนควรมีพื้นที่ส่วนกลางสำหรับออกกำลังกาย ส่งเสริมสุขภาพของชุมชน 8) ภายในชุมชนควรมีจุดบริการเจลแอลกอฮอล์ ในสถานที่ที่มีการสัมผัสวัตถุ หรือสิ่งของร่วมกัน หรือทำกิจกรรมร่วมกันในกลุ่มคนจำนวนมาก 9) ในชุมชนควรมีพื้นที่ให้ความรู้ด้านสุขภาพ หรือจัดทำป้ายรณรงค์ให้ความรู้การป้องกันตนเองจากโรคระบาดและการดูแลสุขภาพตนเองและคนในชุมชน 10) ชุมชนควรมีการแยกถังขยะในครัวเรือนและชุมชนอย่างถูกต้อง โดยมีถังขยะติดเชื้อแยกไว้ต่างหากด้วย 11) ดำเนินการทำความสะอาดฆ่าเชื้อพื้นที่ในครัวเรือนและชุมชนที่มีความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ หากพบว่ามีพื้นที่เสี่ยง หรือพบผู้ติดเชื้อจากโรคระบาดในชุมชนให้รีบดำเนินการ 12) จัดระเบียบให้ถนนและพื้นที่ภายในชุมชนมีแสงแดดส่องถึงให้มากที่สุด 13) จัดกิจกรรมให้บริการด้านสุขภาพอย่างสม่ำเสมอ ด้วยบุคลากรด้านสาธารณสุข 14) จัดระบบเสียงตามสาย ภายในชุมชน หรือไลน์กลุ่มของชุมชน สำหรับให้ข้อมูลด้านสุขภาพ และ 15) มีการอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพภายในชุมชนจากบุคลากรด้านสาธารณสุขth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectชุมชนth_TH
dc.subjectCommunityth_TH
dc.subjectบริการปฐมภูมิ (การแพทย์)th_TH
dc.subjectPrimary Care (Medicine)th_TH
dc.subjectCommunity Health Servicesth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectCoronavirus Infectionsth_TH
dc.subjectการติดเชื้อไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectCOVID-19--Prevention and Controlth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการศึกษาพัฒนารูปแบบระบบสุขภาพชุมชนที่เหมาะสมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพและภัยสุขภาพผู้ป่วยโรคโควิด-19 และโรคอุบัติใหม่ในระบบแยกกักตัวที่บ้านและชุมชน: กรณีพื้นที่กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeBuilding Community Health System Resilience through Home Isolation and Community Isolation Development in Response to COVID-19 and Emerging Diseases: A Case Study of Bangkok Metropolitan Areath_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThe project is called " Building Community Health System Resilience through Home Isolation and Community Isolation Development in Response to COVID-19 and Emerging Diseases : A Case Study of Bangkok Metropolitan Area", The project's goals were: 1) to research and create the right community health systems to handle health emergencies and risks; 2) to gather information that could be used to build a strong system to handle the COVID-19 pandemic and new communicable diseases in homes and communities; and 3) to make media that would help spread information about how to handle future epidemics or health disasters. The environments and people who live in the four model communities can be used for study, experiments, and data collection. These are the "Kubon 27" apartments for low-income families, the Wat Tri Rattanaram community, the Ruam Phatthana community, and the Lamchala community. All four communities are ready for the COVID-19 pandemic and have specific plans and tools to respond and stop the virus's spread. They also have a management system with a strong community network and a network of people working together inside and outside the community to handle emergencies. As a result of the study, policy suggestions, steps, and system management were found to improve the health security of the country. It has these parts: 1) Encourage the growth of knowledge for power development. Ways to stop the COVID-19 outbreak and other new diseases that can be spread at home and in the community 2) Come up with rules for making a place that is good for running communities and homes. To deal with health situations and disasters and stop the spread of COVID-19 and other new diseases that can be passed from person to person, both at home and in the community. 3) Every community should set up a coordination center to hear people's stories and spread the word about health and health tragedies based on community or government rules. Make a prototype of an alert and notification system that lets people know about useful tools in the community. Because you helped people in the neighborhood during health emergencies. 4) Make the effect bigger. A model of a database that can be used to store spatial coordinates and other data linked to community isolation operations using a GIS system This database can be found on the website. Care for patients in the neighborhood quickly and thoroughly with modern systems that are easy to use. 5) Set up a way for health networks in and outside of the community to work together, including related organizations and foundations, and be ready to offer health help in a variety of ways. 1) make a list of the community's health groups, including the hidden population. 2) the community should have a plan for its health. 3) There should be shelters in the area. Every town or city should have a place where sick people can stay. If there is an outbreak and there aren't enough medical facilities, people will be able to stay in the community or in shelters in their neighborhoods. 4) Make a community database to store coordinates and details about operations that will isolate communities. 5) Every group should have a way to send out alerts and share resources. 6) People in the neighborhood should take care of the shelters and the environment so that there is enough airflow. 7) Every neighborhood should have a place where people can work out together. 8) There should be alcohol gel stations in the neighborhood. This happens in places where people share things or do tasks together with a lot of other people." 9) There should be a health education area or campaign sign in the community to help people learn how to protect themselves from epidemics and to look out for each other and the community. 10) Trash cans for households and trash cans for the neighborhood should be kept separate. Separately, there are also trash cans that are infected. 11) Clean and disinfect places in your home and the community that could be used to spread diseases. If there is a high-risk area or someone infected with the epidemic in the neighborhood, something needs to be done right away. 12) Set up roads and other places in the neighborhood so they get as much sun as possible. 13) Plan events and offer regular health services. With people from public health 14. Put together a sound system along the lines of a community or community group to give out health information. 15) Give healthcare workers training and spread their knowledge about healthcare in the community.th_TH
dc.identifier.callnoW84.6 ก392ก 2567
dc.identifier.contactno66-013
dc.subject.keywordการแยกผู้ป่วยth_TH
dc.subject.keywordIsolationth_TH
dc.subject.keywordHome Isolationth_TH
dc.subject.keywordHIth_TH
dc.subject.keywordแยกกักตัวที่บ้านth_TH
dc.subject.keywordCommunity Isolationth_TH
dc.subject.keywordCommunity Health Systemsth_TH
dc.subject.keywordระบบสุขภาพชุมชนth_TH
.custom.citationกันยพัชร์ ธนกุลวุฒิโรจน์, Kunyaphat Thanakunwutthirot, มรกต วรชัยรุ่งเรือง, Morakot Worachairungreung, ณยศ กุลพานิช, Nayot Kulpanich, วลัยพร ผ่อนผัน and Walaiporn Phonphan. "การศึกษาพัฒนารูปแบบระบบสุขภาพชุมชนที่เหมาะสมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพและภัยสุขภาพผู้ป่วยโรคโควิด-19 และโรคอุบัติใหม่ในระบบแยกกักตัวที่บ้านและชุมชน: กรณีพื้นที่กรุงเทพมหานคร." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6002">http://hdl.handle.net/11228/6002</a>.
.custom.total_download31
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year31
.custom.downloaded_fiscal_year31

Fulltext
Icon
Name: hs3063.pdf
Size: 11.23Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record