dc.contributor.author | อุษา ฉายเกล็ดแก้ว | th_TH |
dc.contributor.author | Usa Chaikledkaew | th_TH |
dc.contributor.author | เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี | th_TH |
dc.contributor.author | Saowalak Turongkaravee | th_TH |
dc.contributor.author | จิระพรรณ จิตติคุณ | th_TH |
dc.contributor.author | Jiraphun Jittikoon | th_TH |
dc.contributor.author | วันวิสาข์ อุดมสินประเสริฐ | th_TH |
dc.contributor.author | Wanvisa Udomsinprasert | th_TH |
dc.contributor.author | ศิตาพร ยังคง | th_TH |
dc.contributor.author | Sitaporn Youngkong | th_TH |
dc.contributor.author | สุรัคเมธ มหาศิริมงคล | th_TH |
dc.contributor.author | Surakameth Mahasirimongkol | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-03-27T02:37:47Z | |
dc.date.available | 2024-03-27T02:37:47Z | |
dc.date.issued | 2566-09 | |
dc.identifier.other | hs3059 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/6030 | |
dc.description.abstract | บทนำ : จากการจัดลำดับความสำคัญและการคัดเลือกการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ (คู่ยีน-ยา) ที่ควรนำมาพิจารณาประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ พบว่า การตรวจยีน HLA-B*57:01 เปรียบเทียบกับการไม่ตรวจยีน ก่อนเริ่มการรักษาด้วยยา Abacavir เพื่อป้องกันการแพ้ยารุนแรงชนิด Hypersensitivity Reaction (HSR) ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีเป็นการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่ควรนำมาประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ วัตถุประสงค์ : การศึกษานี้เพื่อประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจยีน HLA-B*57:01 เปรียบเทียบกับการไม่ตรวจยีน ก่อนเริ่มการรักษาด้วยยา Abacavir เพื่อป้องกันการแพ้ยารุนแรงชนิด HSR ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี และเพื่อประเมินผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจยีน HLA-B*57:01 หากบรรจุในชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า วิธีการศึกษา : การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจยีน HLA-B*57:01 เปรียบเทียบกับการไม่ตรวจยีน ก่อนเริ่มการรักษาด้วยยา Abacavir ทั้งแบบ First-Line หรือ Second-Line Treatment ด้วยวิธีต้นทุนอรรถประโยชน์โดยใช้แบบจำลอง Decision Tree และ Markov ในมุมมองทางสังคมและมุมมองของรัฐบาล ประกอบด้วย ข้อมูลตัวแปร ค่าความน่าจะเป็น ต้นทุนและอรรถประโยชน์ได้จากการทบทวนวรรณกรรม รายงานผลการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์แสดงในรูปของค่าอัตราส่วนต้นทุนประสิทธิผลส่วนเพิ่ม (Incremental Cost-Effectiveness Ratio, ICER) และประเมินความไม่แน่นอนโดยใช้ One-Way Sensitivity Analysis และ Probabilistic Sensitivity Analysis นอกจากนี้ผลกระทบด้านงบประมาณคำนวณโดยใช้มุมมองของรัฐบาล ผลการศึกษา : ค่า ICER ของการตรวจยีน HLA-B*57:01 เปรียบเทียบกับการไม่ตรวจยีน ก่อนเริ่มการรักษาด้วยยา Abacavir แบบ First-Line Treatment (สถานการณ์ที่ 1) เท่ากับ 4,075 บาทต่อปีสุขภาวะ ในมุมมองทางสังคม และ Cost-Saving (ICER = -6,412 บาทต่อปีสุขภาวะที่เพิ่มขึ้น) ในมุมมองของรัฐบาล นอกจากนี้ค่า ICER ของการตรวจยีน HLA-B*57:01 เปรียบเทียบกับการไม่ตรวจยีน ก่อนเริ่มการรักษาด้วยยา Abacavir แบบ Second-Line Treatment (สถานการณ์ที่ 2) เท่ากับ 18,437 บาทต่อปีสุขภาวะ (มุมมองทางสังคม) และ 11,793 บาทต่อปีสุขภาวะที่เพิ่มขึ้น (มุมมองของรัฐบาล) ยังส่งผลให้มีผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจยีน HLA*B-57:01 เมื่อเทียบกับการไม่ตรวจยีน เท่ากับ 4,230,000 บาทต่อปี ในสถานการณ์ที่ 2 สรุปผลการศึกษา : หากพิจารณาตามคู่มือการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทย ซึ่งกำหนดเกณฑ์ความคุ้มค่าของความเต็มใจจ่ายสำหรับประเทศไทยที่ 160,000 บาทต่อปีสุขภาวะ ผู้ป่วยเอชไอวีเริ่มใช้ยา Abacavir Regimen เป็น First-Line หรือ Second-Line Treatment การตรวจยีน HLA-B*57:01 ก่อนเริ่มการรักษาด้วยยา Abacavir มีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับการตรวจยีน ดังนั้น ผลการศึกษานี้สนับสนุนการตัดสินใจเชิงนโยบายในการบรรจุการตรวจยีน HLA-B*57:01 ก่อนเริ่มการรักษาด้วยยา Abacavir ในชุดสิทธิประโยชน์ของสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำหรับผู้ป่วยเอชไอวีที่เริ่มใช้ยา Abacavir Regimen เป็น First-Line หรือ Second-Line Treatment | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | ยา | th_TH |
dc.subject | Drugs | th_TH |
dc.subject | ยาต้านไวรัส | th_TH |
dc.subject | HIV/AIDS | th_TH |
dc.subject | ผู้ป่วยเอดส์ | th_TH |
dc.subject | ยีน | th_TH |
dc.subject | Gene | th_TH |
dc.subject | พันธุกรรม | th_TH |
dc.subject | Genetics | th_TH |
dc.subject | จีโนมมนุษย์ | th_TH |
dc.subject | Human Genome | th_TH |
dc.subject | พันธุศาสตร์มนุษย์ | th_TH |
dc.subject | Human Genetics | th_TH |
dc.subject | เภสัชพันธุศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | Pharmacogenomics | th_TH |
dc.subject | เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Health Economics | th_TH |
dc.subject | ต้นทุนต่อหน่วย | th_TH |
dc.subject | Cost--Analysis | th_TH |
dc.subject | Cost-Benefit Analysis | th_TH |
dc.subject | การวิเคราะห์ความคุ้มทุน | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Health Service System | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Health Care System | th_TH |
dc.subject | หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ | th_TH |
dc.subject | Universal Health Coverage | th_TH |
dc.subject | ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.title | การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย ปีที่ 2 | th_TH |
dc.title.alternative | Economic Evaluation and Budget Impact Analysis of Appropriate Pharmacogenetics Testing in Thailand Year 2 | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Background: Based on the prioritization and selection of pharmacogenomic testing (gene-drug pairs) that should be considered to perform economic evaluation, it was found that the economic evaluation of HLA-B*57:01 genetic testing compared to no genetic testing before starting treatment with abacavir to prevent Hypersensitivity Reaction (HSR) in HIV-infected patients should be conducted. Objectives: The objective of this study was to evaluate the economic evaluation of HLA-B*57:01 genetic testing compared to no genetic testing before starting treatment with abacavir to prevent HSR in HIV-infected patients and to assess the budget impact of HLA-B*57:01 genetic testing if we included in the benefits package of the Universal Health Coverage (UHC). Methods: Economic evaluation of HLA-B*57:01 gene testing compared to no genetic testing before starting treatment with abacavir as first-line or second-line treatment was conducted using a cost-utility analysis method using a decision tree and Markov model based on societal and governmental perspectives. Data on probability, cost, and utility were obtained from literature reviews. The results were presented as an incremental cost-effectiveness ratio (ICER) and parameter uncertainty was assessed using one-way sensitivity and probabilistic sensitivity analyses. In addition, the budget impact analysis was calculated using the governmental perspective. Results: Compared to no genetic testing, the ICER value of HLA-B*57:01 genetic testing before starting first-line treatment with abacavir (scenario 1) was equal to 4,075 in a societal perspective and cost-saving (-6,412 baht per quality adjusted life year (QALY) gained) based on a governmental perspective. In addition, the ICER value of HLA-B*57:01 genetic testing compared with no gene testing before starting second-line abacavir treatment (scenario 2) was equal to 18,437 (societal perspective) and 1,793 baht per QALY gained (governmental perspective). It also resulted in a budget impact of HLA*B-57:01 genetic testing compared to no testing, equal to 4,230,000 baht per year in scenario 2. Conclusions: When considering the willingness to pay threshold for Thailand at 160,000 baht per QALY gained, HLA-B*57:01 genetic testing for the HIV infected patients before starting abacavir regimen as first-line or second-line treatment would be cost-effective. Therefore, our findings supported policy decision making on the inclusion of HLA-B*57:01 genetic testing into the benefit package of UHC for the HIV infected patients before starting abacavir regimen as first-line or second-line treatment. | th_TH |
dc.identifier.callno | W74 อ864ก 2566 | |
dc.identifier.contactno | 65-049 | |
dc.subject.keyword | Abacavir | th_TH |
dc.subject.keyword | แพ้ยา | th_TH |
dc.subject.keyword | Genomics Thailand | th_TH |
.custom.citation | อุษา ฉายเกล็ดแก้ว, Usa Chaikledkaew, เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี, Saowalak Turongkaravee, จิระพรรณ จิตติคุณ, Jiraphun Jittikoon, วันวิสาข์ อุดมสินประเสริฐ, Wanvisa Udomsinprasert, ศิตาพร ยังคง, Sitaporn Youngkong, สุรัคเมธ มหาศิริมงคล and Surakameth Mahasirimongkol. "การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย ปีที่ 2." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6030">http://hdl.handle.net/11228/6030</a>. | |
.custom.total_download | 21 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 21 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 2 | |