แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การพัฒนาแพลตฟอร์มระบบการจัดทำบัญชีรายจ่ายด้านยาแห่งชาติ (ระยะที่ 1)

dc.contributor.authorศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัยth_TH
dc.contributor.authorSupasit Pannarunothaith_TH
dc.contributor.authorปิยะเมธ ดิลกธรสกุลth_TH
dc.contributor.authorPiyameth Dilokthornsakulth_TH
dc.contributor.authorนิลวรรณ อยู่ภักดีth_TH
dc.contributor.authorNilawan Upakdeeth_TH
dc.contributor.authorนันทวรรณ กิติกรรณากรณ์th_TH
dc.contributor.authorNantawarn Kitikannakornth_TH
dc.date.accessioned2024-04-26T08:58:51Z
dc.date.available2024-04-26T08:58:51Z
dc.date.issued2567-02
dc.identifier.otherhs3085
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/6057
dc.description.abstractรายจ่ายด้านยาเป็นสัดส่วนสำคัญในระบบบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติของทุกประเทศ การติดตามรายจ่ายด้านยาอย่างต่อเนื่องเป็นเป้าหมายของการวิจัยนี้ การพัฒนาแพลตฟอร์มระบบการจัดทำบัญชีรายจ่ายด้านยาแห่งชาติ (ระยะที่ 1) ออกแบบสำหรับการดำเนิน การวิเคราะห์รายจ่ายด้านยาและการจัดทำบัญชีรายจ่ายด้านยาของประเทศไทยที่ใช้ข้อมูลเพื่อการบริหารยาระดับประเทศที่สามารถทำได้อย่างกึ่งอัตโนมัติ ต่อเนื่องและเป็นปัจจุบัน จึงมีความจำเป็นต้องใช้ระเบียบวิธีวิจัยทบทวนวรรณกรรมต่างประเทศและประเทศไทย สัมภาษณ์เชิงลึก/ประชุมกลุ่มกับผู้มีประสบการณ์และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับข้อมูลระบบยาของประเทศไทย ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน สืบค้นได้เอกสารวิชาการนานาชาติ และเอกสารวิชาการภายในประเทศ 22 การศึกษา ให้ทิศทางที่ชัดเจนในการทำแพลตฟอร์มระบบการจัดทำบัญชีรายจ่ายด้านยาระดับประเทศในด้านการกำหนดราคาเป็น 4 ระดับ คือ ราคาผู้ผลิต ราคาขายจากผู้ผลิตสู่ผู้กระจายยา ราคาที่องค์กรหลักประกันสุขภาพเป็นผู้จ่าย และราคายาที่ผู้บริโภคเป็นผู้จ่าย ทำการสัมภาษณ์เชิงลึก/ประชุมกลุ่มกับผู้เป็นแหล่งข้อมูลสำคัญของการได้มาของราคาและปริมาณยาทั้ง 4 ระดับ ได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) (ทั้งยาทั่วไป และวัตถุเสพติด) องค์การเภสัชกรรม (อภ.) โรงพยาบาลราชวิถี องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เทศบาล มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.) บริษัทเอกชน และนักวิจัยระบบบัญชีรายจ่ายด้านยาและด้านรหัสยา ให้ผลการเชื่อมโยงของห่วงโซ่อุปทานด้านยาเป็นขั้นเริ่มต้นการผลิตยาหรือนำเข้ายา ขั้นผู้จัดจำหน่าย/ผู้กระจายยาขั้นผู้ค้าส่ง และขั้นผู้สั่งยา/ผู้ขายยา ผลการวิจัยระยะที่ 1 จะเป็นวิธีทำงานเพื่อให้มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายในการกระจายงบประมาณอย่างต่อเนื่องต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectยาth_TH
dc.subjectDrugsth_TH
dc.subjectยา--ราคาth_TH
dc.subjectDrugs--Pricesth_TH
dc.subjectค่าใช้จ่ายด้านยาth_TH
dc.subjectระบบยาth_TH
dc.subjectDrug Systemsth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุข--ยาth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์th_TH
dc.subjectApplication Softwareth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies)th_TH
dc.titleการพัฒนาแพลตฟอร์มระบบการจัดทำบัญชีรายจ่ายด้านยาแห่งชาติ (ระยะที่ 1)th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of the National Drug Account Platform (Phase 1)th_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeDrug expenditures take a significant proportion of all nations’ national health accounts. The continuous tracking national drug account system is the goal of this multiphase research. Phase 1 started with the carefully designed methodologies of how to build up the semi automated flows of legally bound administrative data at the national level for continuous and like real time use. From the systematic review of both international and Thai literature found 22 studies guiding the clarification of drug expenditures related to 4 levels of drug prices: producer, wholesaler, reimbursement, and consumer prices. Key informants related to 4 levels of drug prices were participating in in depth interviews group discussions, such as Food and Drug Administration for medicines in general and narcotics)), Government Pharmaceutical Organization, Rajavithi Hospital, provincial administrative organization, municipality, National Health Foundation, and researchers on national drug accounts and medicine coding. The content analysis categorized 4 tiers of supply chain contributing to success of national drug account study: tier 1 manufacturer importer, tier 2 distributer, tier 3 wholesaler, and tier N 1 prescriber over the counter seller while tier N = end user). These findings would feed to subsequent phases of the national drug account study to establish the data system for drug policy.th_TH
dc.identifier.callnoQV55 ศ246ก 2567
dc.identifier.contactno66-111
dc.subject.keywordบัญชีรายจ่ายด้านยาth_TH
.custom.citationศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย, Supasit Pannarunothai, ปิยะเมธ ดิลกธรสกุล, Piyameth Dilokthornsakul, นิลวรรณ อยู่ภักดี, Nilawan Upakdee, นันทวรรณ กิติกรรณากรณ์ and Nantawarn Kitikannakorn. "การพัฒนาแพลตฟอร์มระบบการจัดทำบัญชีรายจ่ายด้านยาแห่งชาติ (ระยะที่ 1)." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6057">http://hdl.handle.net/11228/6057</a>.
.custom.total_download23
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year23
.custom.downloaded_fiscal_year1

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs3085.pdf
ขนาด: 2.667Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย