dc.contributor.author | ชญาณิศา ชิติโชติปัญญา | th_TH |
dc.contributor.author | Chayanisa Chitichotpanya | th_TH |
dc.contributor.author | มัณฑนา จริยาบูรณ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Manthana Jariyaboon | th_TH |
dc.contributor.author | พร้อมสิน มาศรีนวล | th_TH |
dc.contributor.author | Promsin Masrinoul | th_TH |
dc.contributor.author | จักรพันธ์ โคมัยกุล | th_TH |
dc.contributor.author | Jukrapun Komaikul | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-04-30T04:29:38Z | |
dc.date.available | 2024-04-30T04:29:38Z | |
dc.date.issued | 2567-02 | |
dc.identifier.other | hs3103 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/6058 | |
dc.description.abstract | โครงการวิจัยนี้เป็นการต่อยอดนวัตกรรมเพื่อเป็นทางเลือกใหม่ที่มีประสิทธิภาพ ในการแก้ปัญหาการระบาดของโรคโควิด–19 โดยนำนวัตกรรม Ag–TiO2/WPU Nanocomposite มาเคลือบลงบนผ้าทีซี เพื่อตัดเย็บเป็นเสื้อต้นแบบบุคลากรทางการแพทย์ ให้มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ได้แก่ ประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อไวรัสโควิด–19 (SARS–CoV–2) และ Human Coronavirus (HCoV–OC43) มากกว่า 99% ตามมาตรฐาน ISO 18184:2019 และประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Staphylococcus Aureus และ Escherichia Coli) มากกว่า 99.99% ตามมาตรฐาน AATCC TM 100:2019 ได้ตลอดเวลาอย่างต่อเนื่อง (Self–Disinfecting) และออกฤทธิ์ยาวนาน เนื่องจากมีการเสริมสมรรถนะ (Synergistic Effect) ด้วยการรวมกันระหว่างนาโนซิลเวอร์และนาโนไทเทเนียมไดออกไซด์ จึงเกิดฟังก์ชันควบคุมการปลดปล่อย (Controlled Release) ของสปีชีส์ที่มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อต่างๆ ที่หลากหลาย ทำให้มีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อสูง นอกจากนั้นยังผ่านการทดสอบความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล ISO 10993–5:2009 ทำให้มีความปลอดภัยต่อเซลล์มนุษย์และสัตว์เลี้ยง (% Cell Viability มากกว่า 70%) ทั้งยังคงทนต่อการซัก จำนวน 20 ครั้ง ตามมาตรฐานการซัก AATCC 135 ทำให้เทคโนโลยีและกระบวนการผลิตที่พัฒนาในโครงการวิจัยนี้ สามารถนำไปต่อยอดและขยายกำลังการผลิตไปสู่ภาคอุตสาหกรรมได้ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | เสื้อผ้า | th_TH |
dc.subject | เสื้อผ้า--การทำความสะอาด | th_TH |
dc.subject | เชื้อจุลินทรีย์ | th_TH |
dc.subject | เชื้อแบคทีเรีย | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Health Service System | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Health Care System | th_TH |
dc.subject | COVID-19 (Disease) | th_TH |
dc.subject | โควิด-19 (โรค) | th_TH |
dc.subject | Coronaviruses | th_TH |
dc.subject | ไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.subject | Coronavirus Infections | th_TH |
dc.subject | การติดเชื้อไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.subject | การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) | th_TH |
dc.subject | ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) | th_TH |
dc.title | การพัฒนาและผลิตต้นแบบเสื้อบุคลากรทางการแพทย์ที่มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ด้วยตนเอง แบบซักได้ | th_TH |
dc.title.alternative | Development of a Prototype of Washable Self–Disinfecting Medical Uniform Against Microorganisms | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research is a continuous innovation providing a new efficient alternative to reduce and control the COVID–19 pandemic. The approach involves coating a TC fabric with Ag–TiO2/WPU nanocomposite to create a prototype of medical uniform with self–disinfecting against microorganisms such as COVID–19 virus (SARS–CoV–2), human coronavirus (HCoV–OC43), Staphylococcus aureus, and Escherichia coli. The self–disinfecting medical uniform demonstrates a consistent ability to eliminate these pathogens, even after undergoing 20 wash cycles according to the AATCC 135 standard. It meets established efficacy standards with rates above 99% for ISO 18184:2019 and exceeding 99.99% for AATCC TM 100:2019. This prolonged self–disinfecting property of the medical uniform is attributed to the synergistic effect of nanosilver and nanotitanium dioxide, contributing to controlled release mechanisms that enhance efficacy in pathogen eradication. In addition, the cytotoxicity test was determined according to ISO 10993-5:2009 standard to ensure that our medical uniform is safe and non-toxic to humans and animals (% cell viability > 70%). Moreover, the production process developed in this research is scalable for industrial applications, promising a substantial integration of technology into the industry. | th_TH |
dc.identifier.callno | QT245 ช112ก 2567 | |
dc.identifier.contactno | 66-075 | |
dc.subject.keyword | Medical Uniform | th_TH |
dc.subject.keyword | เสื้อทางการแพทย์ | th_TH |
dc.subject.keyword | เสื้อบุคลากรทางการแพทย์ | th_TH |
.custom.citation | ชญาณิศา ชิติโชติปัญญา, Chayanisa Chitichotpanya, มัณฑนา จริยาบูรณ์, Manthana Jariyaboon, พร้อมสิน มาศรีนวล, Promsin Masrinoul, จักรพันธ์ โคมัยกุล and Jukrapun Komaikul. "การพัฒนาและผลิตต้นแบบเสื้อบุคลากรทางการแพทย์ที่มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ด้วยตนเอง แบบซักได้." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6058">http://hdl.handle.net/11228/6058</a>. | |
.custom.total_download | 17 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 17 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 0 | |