Show simple item record

The Strategic Role and Mission of Provincial Administrative Organization to Provide Community Health Care Services in the Provincial Northern Areas

dc.contributor.authorสถาพร แสงสุโพธิ์th_TH
dc.contributor.authorSathaporn Saengsuphoth_TH
dc.contributor.authorนพวรรณ บุญธรรมth_TH
dc.contributor.authorNoppawan Boonthamth_TH
dc.contributor.authorวันชาติ นภาศรีth_TH
dc.contributor.authorWunchart Napasrith_TH
dc.contributor.authorชวิน คำบุญเรืองth_TH
dc.contributor.authorChawin Kamboonruangth_TH
dc.contributor.authorพงศพล มหาวัจน์th_TH
dc.contributor.authorPongsapon Mahawatth_TH
dc.contributor.authorรุ่งอรุณ หน่อคำth_TH
dc.contributor.authorRungaroon Hnorcomth_TH
dc.contributor.authorอโนชา ปาระมีสักth_TH
dc.contributor.authorAnocha Parameesakth_TH
dc.contributor.authorรวิษฎา บัวอินทร์th_TH
dc.contributor.authorRawisada Buainth_TH
dc.contributor.authorสุวพิมพ์ จันทร์ทิพย์th_TH
dc.contributor.authorSuwapim Chanthipth_TH
dc.date.accessioned2024-05-21T07:54:56Z
dc.date.available2024-05-21T07:54:56Z
dc.date.issued2567-05
dc.identifier.otherhs3109
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/6066
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพ ปัญหา ความต้องการและความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อระบบบริการสุขภาพในพื้นที่ภาคเหนือ ศึกษาระบบ กลไก บทบาทหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ในฐานะผู้ให้บริการด้านสุขภาพที่มีความพร้อม ตลอดจนศึกษาผลกระทบหลังการถ่ายโอน พร้อมกับการเสนอผลวิจัย ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่เกิดประสิทธิผลต่อการปรับปรุงระเบียบบทบัญญัติต่างๆ ให้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง เป็นการทำวิจัยแบบผสมผสานมีการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคเหนือ ประกอบด้วย จังหวัดลำพูน จังหวัดพะเยา จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดสุโขทัย จังหวัดพิจิตร จังหวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดอุทัยธานี ผลการศึกษา 1) สถานการณ์สุขภาพโดยรวม พบว่า กลุ่มโรคที่มีอันดับสูงสุด คือ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรคทั่วไป โรคไขมันในเลือดและโรคหัวใจ ประเภทบริการสุขภาพที่ประชาชนมารับบริการมากที่สุด ได้แก่ การตรวจสุขภาพ การรับวัคซีน การคัดกรองโรค การให้คำปรึกษาปัญหาด้านสุขภาพ การบริการผู้สูงอายุและบริการอื่นๆ เมื่อเปรียบเทียบสถานการณ์ก่อนและหลังการถ่ายโอน พบว่า ปัญหา อุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการให้บริการสุขภาพ โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ในแต่ละพื้นที่มีความสอดคล้องกัน ซึ่งสะท้อนระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริการสุขภาพของ อบจ. ที่ยังไม่ได้ปรับปรุงด้านประสิทธิภาพตามที่คาดหวัง 2) ด้านบทบาทอำนาจหน้าที่ของ อบจ. พบว่า ผู้บริหารควรทบทวนการปรับโครงสร้าง กำหนดทิศทางและกลยุทธ์การบริหารจัดการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย มีการเตรียมความพร้อมด้านปัจจัย สิ่งสนับสนุนระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ ทั้งก่อนและหลังการถ่ายโอน ภายใต้แนวคิด “ประชาชนเป็นศูนย์กลาง” ประกอบด้วย (1) ระบบบริการสุขภาพระดับตำบล (2) ระบบบริหารจัดการงบประมาณ (3) ระบบอาคารและสิ่งแวดล้อม (4) ระบบบริหารงานบุคคล (5) ระบบมาตรฐานคุณภาพการบริการ (6) ระบบยา อุปกรณ์และเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ (7) ระบบเทคโนโลยีและการสื่อสาร (8) ระบบติดตามและประเมินผล 3) ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาระดับพื้นที่ ได้เสนอว่า 3.1) การพัฒนาระบบบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ ภายในองค์กรอย่างเป็นระบบเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพตามภารกิจ, การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development, HRD) การจัดสรรงบประมาณ และการพัฒนาความร่วมมือกับ รพ.สต. แบบเครือข่าย 3.2) การสร้างกลไกความร่วมมือระดับพื้นที่เพื่อขับเคลื่อนสู่เมืองสุขภาวะที่มีการดูแลสุขภาพเชิงป้องกันสำหรับคนทุกช่วงวัย การเพิ่มพื้นที่สีเขียวสำหรับแหล่งอาหารและการผลิตเพื่อสุขภาพ เพื่อการออกกำลังกายและเป็นพื้นที่เรียนรู้ของประชาชน ซึ่งทุกคนได้ร่วมกันสร้าง ผลการวิจัยยังระบุด้วยว่า ปัจจัยทางสังคมเหล่านี้เป็นตัวกำหนดสุขภาพ มีที่มาจากสภาพแวดล้อมที่ผู้คนเกิด ใช้ชีวิต เรียนรู้ ทำงานและเล่น ซึ่งส่งผลกระทบและความเสี่ยงต่อสุขภาพ ความสุขและคุณภาพชีวิตของผู้คนในวงกว้าง 3.3) ข้อเสนอเพื่อปรับปรุงกฎระเบียบและข้อบัญญัติท้องถิ่น เพื่อรองรับระบบบริการสุขภาพ ได้แก่ พระราชบัญญัติการจัดสรรงบประมาณ, ระเบียบค่าตอบแทนบุคลากร, ระเบียบบริหารงานบุคคลท้องถิ่น ระเบียบกระทรวงการคลัง และพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรมth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนจังหวัดth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลth_TH
dc.subjectระบบสุขภาพปฐมภูมิth_TH
dc.subjectPrimary Health Careth_TH
dc.subjectบริการปฐมภูมิ (การแพทย์)th_TH
dc.subjectPrimary Care (Medicine)th_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขth_TH
dc.subjectPublic Health Administrationth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectการกระจายอำนาจด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleบทบาทหน้าที่เชิงกลยุทธ์ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกับภารกิจให้บริการดูแลสุขภาพชุมชน กรณีจังหวัดในพื้นที่ภาคเหนือth_TH
dc.title.alternativeThe Strategic Role and Mission of Provincial Administrative Organization to Provide Community Health Care Services in the Provincial Northern Areasth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to analyze the health situation, problem, people’s needs and opinions on health care services, to study the administrative systems and mechanisms, roles, and responsibilities of the Provincial Administrative Organization (PAO), as a health care provider, for readiness support. The study was carried out with Mixed-method research. Data were collected and analyzed quantitatively and qualitatively in seven provinces in the north of Thailand, consisting of Lamphun Province, Phayao Province, Uttaradit Province, Phichit Province, Sukhothai Province, Phetchabun Province, and Uthai Thani Province. The results showed that 1) The health situations and disease groups at the highest rankings are high blood pressure (BP), diabetes, cancer, general diseases, raised blood lipids, and heart disease, respectively. The main types of health services provided to people are regular health check-ups, vaccinations, disease screening services, health counseling for the elderly, and other health care services. When comparing both situations, before and after the transfer, some problems found in providing health services by the Sub-district Health Promoting Hospitals (SHPH) that were consistent with each other areas that reflect the level of people's satisfaction in quality, efficiency, and effectiveness of health care services, as well as the administrative systems and mechanisms. 2) The local team leaders have a direct role and responsibility to restructure, define the strategies management and implement to achieve the goals. The key success factors in preparing and supporting primary care services systems based on the "people-centered care concept" consisted of the following systems; health care service, budget, building and environment, human resource development, quality standard, medical equipment & supplies, technology and communication, monitoring and evaluation. 3) The proposed policy and regulations improvement to support Local healthcare services are followings; 3.1) The Systematic development of internal strategies management for Healthcare Services. 3.2) Establishing effective mechanisms for driving the health care system towards a "Wellness city" for taking preventive care of people of all ages, increasing green areas for food sources and healthy production, and creating learning space that created by everyone. The finding also indicated that the Social Determinants of Health are main conditions in the environments where people are born, live, learn, work, and play that affect a wide range of health, happiness, and quality-of-life outcomes and risks. 3.3) Improving laws and regulations to support, encourage, and facilitate the performance of service duties, according to the Provincial Administration Act, are the Budget Allocation Act, the Employee Compensation Act, the Local Personnel Administration Act, the Ministry of Finance Regulations, and the Medical Profession Act.th_TH
dc.identifier.callnoWA540.JT3 ส182บ 2567
dc.identifier.contactno66-045
dc.subject.keywordHealth Decentralizeth_TH
dc.subject.keywordHealth Decentralizationth_TH
dc.subject.keywordการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขth_TH
dc.subject.keywordProvincial Administrative Organizationth_TH
dc.subject.keywordPAOth_TH
dc.subject.keywordอบจ.th_TH
dc.subject.keywordรพ.สต.th_TH
.custom.citationสถาพร แสงสุโพธิ์, Sathaporn Saengsupho, นพวรรณ บุญธรรม, Noppawan Boontham, วันชาติ นภาศรี, Wunchart Napasri, ชวิน คำบุญเรือง, Chawin Kamboonruang, พงศพล มหาวัจน์, Pongsapon Mahawat, รุ่งอรุณ หน่อคำ, Rungaroon Hnorcom, อโนชา ปาระมีสัก, Anocha Parameesak, รวิษฎา บัวอินทร์, Rawisada Buain, สุวพิมพ์ จันทร์ทิพย์ and Suwapim Chanthip. "บทบาทหน้าที่เชิงกลยุทธ์ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกับภารกิจให้บริการดูแลสุขภาพชุมชน กรณีจังหวัดในพื้นที่ภาคเหนือ." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6066">http://hdl.handle.net/11228/6066</a>.
.custom.total_download15
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month7
.custom.downloaded_this_year15
.custom.downloaded_fiscal_year15

Fulltext
Icon
Name: hs3109.pdf
Size: 4.429Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record