Show simple item record

The 9th National Oral Health Survey 2022-2023 (phase 2)

dc.contributor.authorกรกมล นิยมศิลป์th_TH
dc.contributor.authorKornkamol Niyomsilpth_TH
dc.contributor.authorจิราพร ขีดดีth_TH
dc.contributor.authorChiraporn Khitdeeth_TH
dc.contributor.authorนพวรรณ โพชนุกูลth_TH
dc.contributor.authorNoppawan Pochanukulth_TH
dc.contributor.authorภัทราภรณ์ หัสดิเสวีth_TH
dc.contributor.authorPattraporn Hasadiseveeth_TH
dc.contributor.authorณัฐมนัสนันท์ ศรีทองth_TH
dc.contributor.authorNuttamanutsanan Srithongth_TH
dc.contributor.authorชนิกา โรจน์สกุลพานิชth_TH
dc.contributor.authorChanika Rotsakoonpanitth_TH
dc.date.accessioned2024-06-17T07:46:03Z
dc.date.available2024-06-17T07:46:03Z
dc.date.issued2567-05
dc.identifier.otherhs3130
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/6086
dc.description.abstractสำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย ได้ดำเนินการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ทุก 5 ปี ครั้งนี้เป็นครั้งที่ 9 ดำเนินการเก็บข้อมูลในปี พ.ศ. 2566 โดยสุ่มจังหวัดในเขตสุขภาพ 12 เขต เขตละ 2 จังหวัด รวม 24 จังหวัดและพื้นที่กรุงเทพมหานคร การสำรวจในครั้งนี้ได้ใช้แนวทางตามองค์การอนามัยโลกแนะนำ กลุ่มอายุสำคัญที่เป็นตัวแทนความเปลี่ยนแปลงของสภาวะช่องปากแต่ละช่วงวัยประกอบด้วย เด็กก่อนวัยเรียนอายุ 3 ปี และ 5 ปี เด็กวัยเรียนอายุ 12 ปี เด็กวัยรุ่นอายุ 15 ปี กลุ่มวัยทำงานอายุ 35-44 ปี กลุ่มผู้สูงอายุ 60-74 ปี และ 80-85 ปี ผลการสำรวจ พบว่า สภาวะสุขภาพช่องปากของคนไทย เด็กก่อนวัยเรียนฟันน้ำนมปราศจากฟันผุเพิ่มขึ้น เด็กวัยเรียนฟันถาวรปราศจากฟันผุเพิ่มขึ้น แต่ยังพบคราบจุลินทรีย์และปัญหาเหงือกอักเสบเช่นเดียวกับผลสำรวจครั้งที่ผ่านมา ในกลุ่มวัยทำงานและสูงอายุปัญหายังคงใกล้เคียงกับเมื่อ 5 ปีที่ผ่านมา ส่วนใหญ่ มีประสบการณ์การสูญเสียฟัน ผู้สูงอายุตอนต้นมากกว่าครึ่งมีฟันใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ ซึ่งแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่ภาพรวมการเข้าถึงบริการทันตกรรมในทุกกลุ่มวัยลดลงจากสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ที่ส่งผลกระทบต่อการจัดบริการทันตกรรมทั้งในสถานบริการสาธารณสุขและในโรงเรียน การพัฒนากิจกรรมในการเพิ่มประสิทธิภาพของการลดปัญหาสุขภาพช่องปากในแต่ละกลุ่มวัยมีความจำเป็น นอกจากนั้นการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคก็มีความสำคัญ ซึ่งการสนับสนุนให้เกิดมาตรการทั้งการส่งเสริม ป้องกันควบคุมโรค รักษาและฟื้นฟู อย่างต่อเนื่องเป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องทำพร้อมๆ กันไป โดยให้น้ำหนักตามข้อมูลทางระบาดวิทยา ทั้งนี้ เพื่อประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสภาวะสุขภาพช่องปากที่ดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีตลอดช่วงชีวิตth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectอนามัยช่องปากth_TH
dc.subjectสุขภาพช่องปากth_TH
dc.subjectทันตสาธารณสุขth_TH
dc.subjectOral Healthth_TH
dc.subjectDental Healthth_TH
dc.subjectDental Health Servicesth_TH
dc.subjectDental Health Surveysth_TH
dc.subjectการตรวจสุขภาพth_TH
dc.subjectอนามัย, การสำรวจth_TH
dc.subjectHealth Surveys--Thailandth_TH
dc.subjectHealth Surveys--Statisticsth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.titleการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2565–2566 (ระยะที่ 2)th_TH
dc.title.alternativeThe 9th National Oral Health Survey 2022-2023 (phase 2)th_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThe Bureau of Dental Health, Department of Health, conducts the Thai National Oral Health Survey every five years. This survey, the Ninth National Oral Health Survey, collected data in 2023. The random sample included 25 provinces from 12 health regions (2 provinces from each health region) and Bangkok. Adhering to guidelines recommended by the World Health Organization, the survey sample included preschool children aged 3 and 5 years, school children and adolescents aged 12 and 15 years, adults aged 35-44 years, and elderly aged 60-74 and 80-85 years. The survey presented key findings of all age groups. In conclusion, this report has presented comprehensive information on the oral health status of Thai people. Overall prevalence of caries-free in preschool children has increased compared to the previous survey, while dental plaque and gingivitis remained stable. Dental problems, such as tooth loss, among adults and the elderly were similar to the previous survey. In the young-old group more than half had at least 20 functional teeth and this is likely to increase. During the Coronavirus disease (COVID-19) pandemic, access to dental services for all age groups decreased due to limited availability of dental services at clinics and schools. These key findings, along with comparisons to previous surveys, provided information for the further development of oral health policies and programs for all age groups. Dental health surveillance of risk factors helps identify key challenges for future improvement. Therefore, continuous support for prevention, promotion, treatment and rehabilitation measures in oral health, based on scientific epidemiological data, is necessary in order to improve oral health status and quality of life of Thai people throughout the life course.th_TH
dc.identifier.callnoWA900.JT3 ก152ก 2567
dc.identifier.contactno66-039
dc.subject.keywordHealth Examinationth_TH
dc.subject.keywordเขตสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordRegional Health Areath_TH
dc.subject.keywordเขตสุขภาพที่ 12th_TH
dc.subject.keywordRegional Health Area 12th_TH
.custom.citationกรกมล นิยมศิลป์, Kornkamol Niyomsilp, จิราพร ขีดดี, Chiraporn Khitdee, นพวรรณ โพชนุกูล, Noppawan Pochanukul, ภัทราภรณ์ หัสดิเสวี, Pattraporn Hasadisevee, ณัฐมนัสนันท์ ศรีทอง, Nuttamanutsanan Srithong, ชนิกา โรจน์สกุลพานิช and Chanika Rotsakoonpanit. "การสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2565–2566 (ระยะที่ 2)." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6086">http://hdl.handle.net/11228/6086</a>.
.custom.total_download7
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month7
.custom.downloaded_this_year7
.custom.downloaded_fiscal_year7

Fulltext
Icon
Name: hs3130.pdf
Size: 11.92Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record