Show simple item record

The Policy Evaluative Research Project on The Transference of Tambol-Promotion-Hospitals to Provincial Administration Organization Part 3 Research Sub-Project No. 4 Management of Pharmaceutical Systems, Medical Supplies, and Necessary Medical Equipment

dc.contributor.authorอุดม ทุมโฆสิตth_TH
dc.contributor.authorUdom TumKositth_TH
dc.contributor.authorวรพิทย์ มีมากth_TH
dc.contributor.authorWorapit Meemakth_TH
dc.contributor.authorสุพัฒน์จิตร ลาดบัวขาวth_TH
dc.contributor.authorSupatjit Ladbuakhaoth_TH
dc.date.accessioned2024-07-16T04:35:46Z
dc.date.available2024-07-16T04:35:46Z
dc.date.issued2567-06
dc.identifier.otherhs3152
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/6121
dc.description.abstractการวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประเมินระบบการจัดการยา เวชภัณฑ์ และครุภัณฑ์ทางการแพทย์ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ที่ได้รับการถ่ายโอนจากกระทรวงสาธารณสุขไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) โดยเปรียบเทียบระหว่างก่อนกับหลังการถ่ายโอนว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปหรือไม่ อย่างไร ในการนี้คณะวิจัยได้เลือกใช้รูปแบบการวิจัยประเมินผลเป็นวิธีวิทยาการประเมิน โดยได้ทบทวนวรรณกรรม และกำหนดกรอบแนวคิดการวิจัยประเมินผลขึ้นในรูปแบบโจทย์คำถามเพื่อเป็นแนวทางในการแสวงหาคำตอบ 9 ข้อในด้านวิธีวิทยาการวิจัย คณะวิจัยได้เลือกใช้วิธีวิจัยการประเมินผลแบบผสมผสาน เริ่มด้วยขั้นตอนวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีสำรวจเชิงรุกร่วมไปกับการสัมภาษณ์ผู้มีประสบการณ์ตรงในการผลิตข้อมูลนั้น และทำการวิเคราะห์ตีความเพื่อตอบโจทย์การวิจัยจาก จำนวน 32 รพ.สต. ใน 8 จังหวัด 4 ภาค ส่วนในขั้นตอนที่ 2 เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ อันเป็นการถอดสาระสำคัญจากขั้นตอนแรกมาตรวจสอบความเป็นทั่วไป ขั้นตอนนี้ได้ใช้วิธีทอดแบบสอบถามไปยัง รพ.สต. จำนวน 3,263 แห่ง ซึ่งได้รับการตอบกลับ จำนวน 450 แห่ง อันเพียงพอต่อการเป็นตัวอย่าง ณ ระดับความเชื่อมั่นที่ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 95 ผลการประเมิน พบว่า 1) การจัดบริการเภสัชกรรมของ รพ.สต. พบว่า หลังการถ่ายโอนส่วนใหญ่ยังคงเหมือนเดิม มีเพียงส่วนน้อยที่โรงพยาบาลแม่ข่ายยกเลิกการสนับสนุนทำให้การจัดการยาแย่ลง 2) ระบบห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์ และสาธารณสุข พบว่า หลังการถ่ายโอนส่วนใหญ่ยังคงเหมือนเดิม 3) การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ (คบส.) พบว่า ยังมีการปฏิบัติงานเหมือนเดิม 4) การจัดการยา และเวชภัณฑ์ พบว่า หลังการถ่ายโอนส่วนใหญ่ยังคงเหมือนเดิม 5) ความสัมพันธ์ระหว่าง รพ.สต. กับโรงพยาบาลแม่ข่าย พบว่า หลังการถ่ายโอนส่วนใหญ่ยังคงเหมือนเดิม แต่บางส่วนมีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากไม่ได้รับการสนับสนุนจากโรงพยาบาลชุมชน (รพช.) แม่ข่ายเช่นเดิม ทำให้ความสัมพันธ์แย่ลง 6) ภาระงานด้านจัดการยา และเวชภัณฑ์ใน รพ.สต. พบว่า ไม่มีเภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรมประจำ ทำให้การจัดการยาไม่ได้มาตรฐานตามที่เกณฑ์กำหนด และเป็นการเพิ่มภาระให้บุคลากรประเภทอื่น 7) ปัญหาหลักอีกประการหนึ่งในด้านยา และเวชภัณฑ์ของบาง รพ.สต. คือ การขาดแคลนยา และเวชภัณฑ์ที่จำเป็น อีกทั้งไม่มียาสำรองอย่างเพียงพอ 8) หลังการถ่ายโอน อบจ. ในฐานะหน่วยงานสนับสนุนในการจัดหา และจัดการยาให้แก่ รพ.สต. ในสังกัด พบว่า อบจ. ส่วนใหญ่ยังขาดความพร้อมในเรื่องการจัดการยา ทำให้เป็นอุปสรรคอย่างยิ่งต่อการสนับสนุนด้านยา และเวชภัณฑ์แก่ รพ.สต. ในสังกัด และ 9) แนวทางพัฒนายา และเวชภัณฑ์ รพ.สต. จำเป็นต้องมีระบบบริหารงานเวชภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานกลางเนื่องจาก (ก) ทำให้ง่ายต่อการใช้งานสามารถเชื่อมต่อข้อมูลด้านเวชภัณฑ์ระหว่างโรงพยาบาลแม่ข่ายกับ รพ.สต. ลูกข่ายได้ (ข) การจัดอบรมบุคลากรเรื่องการใช้ยา และพัฒนาองค์ความรู้ให้แก่บุคลากรผู้รับผิดชอบงานสามารถทำได้สะดวก (ค) จัดหาบุคลากรด้านยา (เภสัชกร หรือเจ้าพนักงานเภสัชกรรมให้ครบทุกโรงพยาบาล) (ง) จัดการให้มีสถานที่จัดเก็บยา และเวชภัณฑ์ให้เป็นสัดส่วนเหมาะสมตามมาตรฐาน และ (จ) เพิ่มระบบการเบิกจ่ายให้มีประสิทธิภาพth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนจังหวัดth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขth_TH
dc.subjectPublic Health Administrationth_TH
dc.subjectการกระจายอำนาจด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectการประเมินผลth_TH
dc.subjectEvaluationth_TH
dc.subjectMeasurementth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการวิจัยประเมินผลนโยบายการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ส่วนที่ 3 : โครงการวิจัยย่อยที่ 4 การจัดการระบบยา เวชภัณฑ์ และครุภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จำเป็นth_TH
dc.title.alternativeThe Policy Evaluative Research Project on The Transference of Tambol-Promotion-Hospitals to Provincial Administration Organization Part 3 Research Sub-Project No. 4 Management of Pharmaceutical Systems, Medical Supplies, and Necessary Medical Equipmentth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study and evaluate the management of pharmaceutical systems, medical supplies, and necessary medical equipment of the Subdistrict Health Promoting Hospital that has been transferred from the Ministry of Public Health to the Provincial Administrative Organization. By comparing before and after the transfer. Has there been any change or not? In this regard, the research team has chosen to use the evaluation research model as the evaluation method. The literature was reviewed and the evaluation research concept was formulated in the form of questions to serve as a guideline in seeking answers to 9 questions. In terms of research methods, the research team has chosen a mixed methods evaluation research method. Start with the qualitative research process. The data was collected by means of proactive surveys along with interviews with people who had direct experience in producing that data to answer research questions. From the 32 of cases study was drown Subdistrict Health Promotion Hospitals in 8 provinces, 4 regions by purposive sampling technique. As for the second step, it is quantitative research. This is to remove the important points from the first step to check for generality. This step involved sending questionnaires to 3 ,2 6 3 Subdistrict Health Promoting Hospitals, which received a response from 450 sufficient to serve as a sample at a confidence level of not less than 95 percent. The evaluation results found that: 1) The arrangement of pharmaceutical services at the Subdistrict Health Promoting Hospital found that after the transfer most of them remained the same. Only a small percentage of host hospitals canceled their support. Makes medication management worse 2) The medical and public health laboratory systems were found to remain the same after the transfer. 3) Health Consumer Protection (Health Consumer Protection) found that it still has the same operations as before. 4) The management of medicines and medical supplies was found to remain the same after the transfer. 5) The relationship between the Subdistrict Health Promotion Hospital and the host hospital was found to remain the same after the transfer. But some parts have changed. Because they did not receive support from the host hospital as before, the relationship worsened. 6) Medication management workload and medical supplies in the Subdistrict Health Promoting Hospital, it was found that there was no full-time pharmacist/pharmaceutical officer. As a result, drug management is not up to the standards specified by the criteria. and it increases the burden on other types of personnel 7) Another main problem in medicines and medical supplies in some public health hospitals is the lack of necessary medicines and medical supplies. In addition, there was no adequate reserve of medicine. 8) After the transfer of Provincial Administrative Organizations as supporting agencies in procuring and managing medicines for Subdistrict Health Promoting Hospitals under their supervision, it was found that most Provincial Administrative Organizations still lack readiness in regards to medicine management. This makes it a serious obstacle to support medicine and medical supplies to the Subdistrict Health Promoting Hospital under its jurisdiction. 9) Guidelines for developing drugs and medical supplies. Subdistrict Health Promoting Hospitals need to have a medical supply management system that meets central standards because: (a) It makes it easier to use able to connect medical supply information between the host hospital and the client Subdistrict Health Promoting Hospital (b) Organizing training for personnel on the use of medicines and develop knowledge for personnel responsible for the work to be able to do it easily. (c) Procure drug personnel (pharmacists or pharmaceutical officers for all hospitals). (d) Arrange for storage of drugs and medical supplies in appropriate proportions according to standards and (e) Increase the efficiency of the disbursement system.th_TH
dc.identifier.callnoWA540.JT3 อ785ก 2567
dc.identifier.contactno65-133
dc.subject.keywordHealth Decentralizeth_TH
dc.subject.keywordHealth Decentralizationth_TH
dc.subject.keywordการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขth_TH
dc.subject.keywordอบจ.th_TH
dc.subject.keywordรพ.สต.th_TH
.custom.citationอุดม ทุมโฆสิต, Udom TumKosit, วรพิทย์ มีมาก, Worapit Meemak, สุพัฒน์จิตร ลาดบัวขาว and Supatjit Ladbuakhao. "การวิจัยประเมินผลนโยบายการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ส่วนที่ 3 : โครงการวิจัยย่อยที่ 4 การจัดการระบบยา เวชภัณฑ์ และครุภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จำเป็น." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6121">http://hdl.handle.net/11228/6121</a>.
.custom.total_download2
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month2
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year2

Fulltext
Icon
Name: hs3152.pdf
Size: 3.478Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record