แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การวิจัยประเมินผลนโยบายการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ส่วนที่ 3 : โครงการวิจัยย่อยที่ 6 การอภิบาลระบบสุขภาพปฐมภูมิ

dc.contributor.authorอุดม ทุมโฆสิตth_TH
dc.contributor.authorUdom Tumkositth_TH
dc.contributor.authorจันทรานุช มหากาญจนะth_TH
dc.contributor.authorChandranuj Mahakanjanath_TH
dc.contributor.authorกรณ์ หุวะนันทน์th_TH
dc.contributor.authorGorn Huvanandanath_TH
dc.contributor.authorอลงกต สารกาลth_TH
dc.contributor.authorAlongkot Sarakarnth_TH
dc.contributor.authorสุพัฒน์จิตร ลาดบัวขาวth_TH
dc.contributor.authorSupatjit Ladbuakhaoth_TH
dc.date.accessioned2024-07-17T07:31:07Z
dc.date.available2024-07-17T07:31:07Z
dc.date.issued2567-06
dc.identifier.otherhs3154
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/6124
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะของการอภิบาลระบบสุขภาพปฐมภูมิใน 2 ระดับ คือ (1) ระดับพื้นที่ ที่มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) เป็นแกนกลางในการขับเคลื่อน และ (2) ระดับภาพรวมทั้งจังหวัดที่มีองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เป็นแกนกลางในการขับเคลื่อนว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร มีความสอดคล้องกับหลักการอภิบาลที่องค์การอนามัยโลกเสนอแนะ และได้รับการขานรับจากกระทรวงสาธารณสุขหรือไม่ มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะสำคัญอะไรไปบ้าง มีปัญหาอุปสรรค หรือข้อเด่นในการอภิบาลอย่างไรบ้าง และมีข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาอย่างไร ในด้านวิธีวิทยาการวิจัยใช้การวิจัยแบบผสมผสานโดยใช้ตัวอย่างการวิจัยจาก 32 รพ.สต. 8 จังหวัด 4 ภาค เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสำรวจ การสัมภาษณ์ และการสัมมนา ผลการศึกษา พบว่า ก่อน และหลังการถ่ายโอนการอภิบาลระบบสุขภาพปฐมภูมิในระดับพื้นที่ของ รพ.สต. ยังมีสภาพเหมือนก่อนการถ่ายโอน ส่วนภาพรวมในระดับจังหวัด และระดับชาติ โครงสร้างการอภิบาลแตกต่างไปจากเดิม โดยกระทรวงสาธารณสุขยังมีฐานะที่เป็นแกนนำในความรับผิดชอบในการดูแลสุขภาวะของชาติ และมี อบจ. เป็นองค์กรนำด้านการอภิบาลสาธารณสุขในระดับจังหวัด ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุขผ่านคณะกรรมการสุขภาพระดับพื้นที่ (กสพ.) ที่เป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพปฐมภูมิโดยหลังจาก รพ.สต. ถ่ายโอนมายัง อบจ. ระบบการอภิบาลในระดับพื้นที่ และระดับจังหวัดยังมีปัญหาอุปสรรคในด้านการทำงานร่วมกันอันเนื่องจากทัศนคติ และกฎระเบียบที่ไม่เอื้อต่อสถานการณ์ของแต่ละหน่วยงาน สำหรับแนวทางการพัฒนาการอภิบาลระบบสุขภาพปฐมภูมิที่ควรเป็น จำเป็นต้องอาศัยเอกภาพภายใต้โครงสร้างแบบพันธมิตรร่วมมือ หรือการทำงานแบบภาคีเครือข่ายทั้งระดับพื้นที่จังหวัด และระดับชาติ โดยจัดโครงสร้างคณะกรรมการทำงานในสัดส่วนที่เหมาะสมth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนจังหวัดth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขth_TH
dc.subjectPublic Health Administrationth_TH
dc.subjectการกระจายอำนาจด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectระบบสุขภาพปฐมภูมิth_TH
dc.subjectPrimary Health Careth_TH
dc.subjectบริการปฐมภูมิ (การแพทย์)th_TH
dc.subjectPrimary Care (Medicine)th_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectการประเมินผลth_TH
dc.subjectEvaluationth_TH
dc.subjectMeasurementth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการวิจัยประเมินผลนโยบายการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ส่วนที่ 3 : โครงการวิจัยย่อยที่ 6 การอภิบาลระบบสุขภาพปฐมภูมิth_TH
dc.title.alternativeThe Policy Evaluative Research Project on The Transference of Tambol-Promotion-Hospitals to Provincial Administration Organization Part 3 Research Sub-Project No.6 Governance in the Primary Health Care Systemth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study the characteristics of primary health care systems at 2 levels: (1) the area level with Subdistrict Health Promotion Hospitals as the main driving force and (2) the overall level for the entire province with Provincial Administrative Organizations. It is the core that drives what it looks like Is it consistent with the principles of pastoral care recommended by the WHO and received by the ministry of public health? What important characteristics have changed? What are some problems, obstacles, or outstanding points in pastoral care? And what are the suggestions for development guidelines? In terms of research methodology, mixed methods research was used. using research samples from 32 samples, 8 provinces, 4 regions, data were collected by surveys, interviews, and seminars. The results of the study found that Before and after the transfer, the primary health care system at the local level of the subdistrict health promotion hospital is still in the same condition as before the transfer. As for the overall picture at the provincial and national level, the governance structure is different from before. That is Ministry of Public Health still has a leading position in responsibility for caring for the healthiness of the nation, and the PAOs is the leading organization for caring at the provincial level through the Committee for Health Area level (CHA), which is an important mechanism in driving the primary health system after the subdistrict health promotion hospital was transferred to the provincial administrative organization, The administrative systems at the local and provincial levels still had obstacles in working together due to attitudes and regulations that were not conducive to the situation of each agency. As for the development guidelines for primary health care systems, it should be based on unity under a cooperative alliance structure or working as a network partner at the local, provincial, and national levels by structuring working committees in appropriate proportions.th_TH
dc.identifier.callnoWA540.JT3 อ785ก 2567
dc.identifier.contactno65-133
dc.subject.keywordHealth Decentralizeth_TH
dc.subject.keywordHealth Decentralizationth_TH
dc.subject.keywordการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขth_TH
dc.subject.keywordอบจ.th_TH
dc.subject.keywordรพ.สต.th_TH
.custom.citationอุดม ทุมโฆสิต, Udom Tumkosit, จันทรานุช มหากาญจนะ, Chandranuj Mahakanjana, กรณ์ หุวะนันทน์, Gorn Huvanandana, อลงกต สารกาล, Alongkot Sarakarn, สุพัฒน์จิตร ลาดบัวขาว and Supatjit Ladbuakhao. "การวิจัยประเมินผลนโยบายการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ส่วนที่ 3 : โครงการวิจัยย่อยที่ 6 การอภิบาลระบบสุขภาพปฐมภูมิ." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6124">http://hdl.handle.net/11228/6124</a>.
.custom.total_download50
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month3
.custom.downloaded_this_year50
.custom.downloaded_fiscal_year7

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs3154.pdf
ขนาด: 10.42Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย