Show simple item record

The Policy Evaluative Research Project on The Transference of Tambol-Promotion-Hospitals to Provincial Administration Organization Part 3 Research Sub-Project No. 7 Public Participation in the Primary Health Care System

dc.contributor.authorอุดม ทุมโฆสิตth_TH
dc.contributor.authorUdom Tumkositth_TH
dc.contributor.authorประยงค์ เต็มชวาลาth_TH
dc.contributor.authorPrayong Temchavalath_TH
dc.contributor.authorสุรชัย พรหมพันธุ์th_TH
dc.contributor.authorSurachai Phromphanth_TH
dc.contributor.authorอลงกต สารกาลth_TH
dc.contributor.authorAlongkot Sarakarnth_TH
dc.contributor.authorสุพัฒน์จิตร ลาดบัวขาวth_TH
dc.contributor.authorSupatjit Ladbuakhaoth_TH
dc.date.accessioned2024-07-17T07:43:10Z
dc.date.available2024-07-17T07:43:10Z
dc.date.issued2567-06
dc.identifier.otherhs3155
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/6125
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินผลลัพธ์ และผลกระทบต่อประชาชนในด้านบริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) แต่ละขนาด (2) ประเมินความพึงพอใจของประชาชนต่อบริการของ รพ.สต. (3) ประเมินศักยภาพและเจตนารมณ์ในการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อระบบสุขภาพในเขตพื้นที่ รพ.สต. (4) วิเคราะห์รูปแบบ และเสนอแนะรูปแบบแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในด้านวิธีวิทยาการวิจัยใช้การวิจัยผสมผสาน มีหน่วยในการวิเคราะห์ คือ ประชาชนใน 32 รพ.สต. โดยมีจำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 1,744 ตัวอย่าง ประกอบด้วย (1) กลุ่มผู้มีอาชีพให้บริการสุขภาพในพื้นที่ (2) กลุ่มผู้นำชุมชน และ (3) กลุ่มประชาชน ผู้เคยได้รับบริการทั้งก่อน และหลังการถ่ายโอน โดยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสำรวจ การสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม ผลการศึกษา พบว่า ในด้านทัศนคติของประชาชนด้านผลลัพธ์ของบริการโดย รพ.สต. มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี โดยหลังการถ่ายโอนประชาชนมีความพึงพอใจมากขึ้น ประชาชนมีความเชื่อมั่นการให้บริการของ รพ.สต. ภายใต้สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) มากขึ้น เนื่องจากเชื่อว่า อบจ. เป็นหน่วยงานในพื้นที่ที่มีความใกล้ชิดกับประชาชน สามารถดูแลบริการสุขภาพปฐมภูมิได้ดีกว่า โดยผลวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า ระดับความพึงพอใจของประชาชนหลังการถ่ายโอนดีขึ้นกว่าเดิมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ณ ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95 สำหรับแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วม ควรปลูกฝังค่านิยมในการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในพื้นที่ให้เข้มแข็งมากขึ้น โดยการรณรงค์สร้างค่านิยม “สร้างสุขภาวะโดยการพึ่งตนเอง และความร่วมมือในลักษณะพหุภาคี” โดยพัฒนากลไกการมีส่วนร่วมที่มีอยู่ในปัจจุบันให้เข้มแข็งมากยิ่งขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนจังหวัดth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขth_TH
dc.subjectPublic Health Administrationth_TH
dc.subjectการกระจายอำนาจด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectระบบสุขภาพปฐมภูมิth_TH
dc.subjectPrimary Health Careth_TH
dc.subjectบริการปฐมภูมิ (การแพทย์)th_TH
dc.subjectPrimary Care (Medicine)th_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectการประเมินผลth_TH
dc.subjectEvaluationth_TH
dc.subjectMeasurementth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการวิจัยประเมินผลนโยบายการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ส่วนที่ 3 : โครงการวิจัยย่อยที่ 7 การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อระบบสุขภาพปฐมภูมิth_TH
dc.title.alternativeThe Policy Evaluative Research Project on The Transference of Tambol-Promotion-Hospitals to Provincial Administration Organization Part 3 Research Sub-Project No. 7 Public Participation in the Primary Health Care Systemth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to (1) evaluate the results and impacts on the people regarding the services of each size of subdistrict health promotion hospitals (2) assess people's satisfaction with the services of subdistrict health promotion Hospitals (3) evaluate the potential and intentions in health participation of the people in the health system in the subdistrict health promotion hospital area (4) analyze patterns and suggest guidelines for developing public sector participation. In terms of research methodology, mixed research was used. the unit of analysis was the people in 32 subdistrict health promotion hospitals, with a total sample size of 1,744. the sample group consisted of (1) a group of people with health service professionals in the area, (2) a group of community leaders, and (3) a group of citizens who had received Service both before and after transfer The data was collected using surveys, interviews, and focus groups. The results of the study found that in terms of people's attitudes regarding the results of services provided by subdistrict health promoting hospital, there has been a positive change. After the transfer, people were more satisfied, and have more confidence in the services provided by subdistrict health promoting hospital under the provincial administrative organization. Because they view that, the provincial administrative organization as an agency in the area that is close to them which. can provide better care for primary health care services, The results of the quantitative research found that the satisfaction levels of the people between after the transfer were better than before significantly different at the 95 percent confidence level. For guidelines for developing participation the value of taking care of one's own health should be instilled in the people in the area. By campaigning to create values “create health through self-reliance and multilateral cooperation” by strengthening current participation mechanisms.th_TH
dc.identifier.callnoWA540.JT3 อ785ก 2567
dc.identifier.contactno65-133
dc.subject.keywordHealth Decentralizeth_TH
dc.subject.keywordHealth Decentralizationth_TH
dc.subject.keywordการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขth_TH
dc.subject.keywordอบจ.th_TH
dc.subject.keywordรพ.สต.th_TH
.custom.citationอุดม ทุมโฆสิต, Udom Tumkosit, ประยงค์ เต็มชวาลา, Prayong Temchavala, สุรชัย พรหมพันธุ์, Surachai Phromphan, อลงกต สารกาล, Alongkot Sarakarn, สุพัฒน์จิตร ลาดบัวขาว and Supatjit Ladbuakhao. "การวิจัยประเมินผลนโยบายการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ส่วนที่ 3 : โครงการวิจัยย่อยที่ 7 การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อระบบสุขภาพปฐมภูมิ." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6125">http://hdl.handle.net/11228/6125</a>.
.custom.total_download2
.custom.downloaded_today2
.custom.downloaded_this_month2
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year2

Fulltext
Icon
Name: hs3155.pdf
Size: 1.855Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record