Show simple item record

The Policy Evaluative Research Project on The Transference of Tambol-Promotion-Hospitals to Provincial Administration Organization

dc.contributor.authorอุดม ทุมโฆสิตth_TH
dc.contributor.authorUdom Tumkositth_TH
dc.contributor.authorดิเรก ปัทมสิริวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorDirek Patamasiriwatth_TH
dc.contributor.authorวรพิทย์ มีมากth_TH
dc.contributor.authorWorapit Meemakth_TH
dc.contributor.authorวีระวัฒน์ ปันนิตามัยth_TH
dc.contributor.authorWerawat Punnitamaith_TH
dc.contributor.authorนิธินันท์ ธรรมากรนนท์th_TH
dc.contributor.authorNithinant Thammakoranontath_TH
dc.contributor.authorจันทรานุช มหากาญจนะth_TH
dc.contributor.authorChandranuj Mahakanjanath_TH
dc.contributor.authorหลี่, เหรินเหลียงth_TH
dc.contributor.authorLi, Renliangth_TH
dc.contributor.authorประยงค์ เต็มชวาลาth_TH
dc.contributor.authorPrayong Temchavalath_TH
dc.contributor.authorรติพร ถึงฝั่งth_TH
dc.contributor.authorRatiporn Teungfungth_TH
dc.contributor.authorภาวิณี ช่วยประคองth_TH
dc.contributor.authorPawinee Chuayprakongth_TH
dc.contributor.authorสุรชัย พรหมพันธุ์th_TH
dc.contributor.authorSurachai Phromphanth_TH
dc.contributor.authorกรณ์ หุวะนันทน์th_TH
dc.contributor.authorGorn Huvanandanath_TH
dc.contributor.authorวิทยา โชคเศรษฐกิจth_TH
dc.contributor.authorWittaya Choksettakijth_TH
dc.contributor.authorสมศักดิ์ จึงตระกูลth_TH
dc.contributor.authorSomsak Jungtrakulth_TH
dc.contributor.authorอลงกต สารกาลth_TH
dc.contributor.authorAlongkot Sarakarnth_TH
dc.contributor.authorจิรวัฒน์ ศรีเรืองth_TH
dc.contributor.authorJirawat Sriruangth_TH
dc.contributor.authorสุพัฒน์จิตร ลาดบัวขาวth_TH
dc.contributor.authorSupatjit Ladbuakhaoth_TH
dc.date.accessioned2024-08-01T04:55:25Z
dc.date.available2024-08-01T04:55:25Z
dc.date.issued2567-06
dc.identifier.otherhs3158
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/6134
dc.description.abstractรายงานสรุปภาพรวมมีวัตถุประสงค์เพื่อ ส่วนที่ 1 ประเมินการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ว่าได้ดำเนินการภารกิจของตนเพื่อให้การรับโอนเป็นไปตามหลักเกณฑ์การถ่ายโอนฯ ตามประกาศคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ก.ก.ถ.) หรือไม่ ผลการดำเนินการเป็นอย่างไร มีจุดแข็ง/จุดอ่อน หรือโอกาส/อุปสรรคขัดข้องอย่างไร และควรปรับปรุงพัฒนาต่อไปอย่างไร ส่วนที่ 2 ประเมินสถานะองค์รวมของระบบสุขภาพปฐมภูมิ (โดย รพ.สต. เป็นหน่วยบริการหลักในพื้นที่) ว่า หลังจากได้ถ่ายโอน รพ.สต. ไปสู่ อบจ. แล้ว มีการเปลี่ยนแปลงอะไรหรือไม่ อย่างไร สถานะของระบบโดยรวมเป็นอย่างไร มีจุดแข็ง/จุดอ่อนที่ควรเสริมส่งหรือปรับปรุงเพิ่มเติมอะไรบ้าง แนวทางการพัฒนาในอนาคตควรเป็นอย่างไร และส่วนที่ 3 ประเมิน 6+1 ชิ้นส่วนหลักของระบบสุขภาพปฐมภูมิ (โดย รพ.สต.) เป็นรายชิ้นส่วนว่าหลังการถ่ายโอนเป็นอย่างไร มีจุดอ่อน/จุดแข็งอะไรบ้างที่ควรปรับปรุงพัฒนาให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น และแนวทางพัฒนาในอนาคตควรเป็นอย่างไร โดยใช้วิธีวิทยา “การวิจัยผสมผสาน” การศึกษาเชิงคุณภาพ ได้ร่วมกับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) คัดเลือก รพ.สต. จำนวน 32 แห่ง กระจายออกไปใน 8 จังหวัดจาก 4 ภาคของประเทศ และการศึกษาเชิงปริมาณ ได้ใช้วิธีทอดแบบสอบถามไปยังประชากรทั้งหมด (จำนวน รพ.สต. 3,263 แห่ง อบจ. 49 แห่ง และ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) 49 แห่ง) ซึ่งก็ได้รับการตอบกลับมาจำนวน 35 อบจ. 35 สสจ. และ 450 รพ.สต. และได้ผ่านการตรวจสอบแล้ว ว่ามีนัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95 ผลการประเมินแบ่งเป็น 3 ส่วนดังนี้ ส่วนที่ 1 ผลการประเมินความก้าวหน้าในการดำเนินการของ อบจ. ว่าได้ดำเนินการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การถ่ายโอนฯ ตามประกาศ ก.ก.ถ. หรือไม่ กล่าวคือ ความก้าวหน้าในการจัดตั้งและการดำเนินการด้านโครงสร้างองค์กร พบว่า ทุกจังหวัดได้จัดตั้งเรียบร้อยแล้ว การจัดตั้งกองสาธารณสุขขึ้นใน อบจ. พบว่า อบจ. ทุกแห่งได้ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว ใน 4 กิจกรรม ความก้าวหน้าในการดำเนินการด้านงานบุคคล การรับการถ่ายโอนบุคลากรสมัครใจรับการถ่ายโอนมายัง อบจ. ทุกแห่ง ได้ดำเนินการเรียบร้อย ความก้าวหน้าในการดำเนินการด้านงบประมาณ การเงิน และการบัญชี พบว่า อบจ. ทุกแห่ง ได้ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว ใน 4 กิจกรรม ความก้าวหน้าในการดำเนินการด้านการกำกับ ติดตาม และประเมินผล พบว่า หลังการถ่ายโอน 5-6 เดือน อบจ. ไม่สามารถทำการประเมินผลการปฏิบัติได้ครบถ้วน แต่ อบจ. ได้เอาใจใส่โดยได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ รวมถึงมีการกำหนดรอบการประเมินไว้อย่างชัดเจน ส่วนที่ 2 ผลการประเมินองค์รวมของระบบบริการปฐมภูมิ ผลการประเมินพบว่า หลังการถ่ายโอนองค์รวมของระบบสุขภาพปฐมภูมิยังคงเหมือนเดิม (เหมือนกับก่อนการถ่ายโอน) และสถานะองค์รวมของระบบสุขภาพปฐมภูมิ พบว่า ในด้านการเปรียบเทียบการบริการระหว่างก่อนโอนและหลังโอน พบว่า ส่วนใหญ่ยังคงเหมือนเดิม ส่วนที่ 3 ผลการประเมินชิ้นส่วนหลัก 7 ชิ้นส่วน ผลการประเมินพบว่า 1) การจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิของ รพ.สต. สรุปได้ว่าตัวแบบและลักษณะการให้บริการส่วนใหญ่ ยังใช้รูปแบบเดิมตามเกณฑ์ของ รพ.สต. ติดดาว 2) การจัดการกำลังคน พบว่า หลังการถ่ายโอนจำนวนกำลังคนของ รพ.สต. มีกำลังคนเพิ่มขึ้นจากก่อนการถ่ายโอนเฉลี่ย 0.74 คนต่อ รพ.สต. 3) การจัดการระบบสารสนเทศ พบว่า ส่วนใหญ่การจัดการระบบสารสนเทศยังคงเหมือนกับก่อนการถ่ายโอน 4) การจัดการยา เวชภัณฑ์ และครุภัณฑ์การแพทย์ พบว่า หลังการถ่ายโอนมาอยู่กับ อบจ. ภาพรวมการจัดการยา เวชภัณฑ์ และครุภัณฑ์การแพทย์ของ รพ.สต. (ร้อยละ 93.75) ยังคงเหมือนเดิม 5) การจัดการระบบการเงินและงบประมาณ พบว่า หลังการถ่ายโอน มีลักษณะเปลี่ยนไป ดังนี้ (1) เงินเหมาจ่ายรายหัวจาก สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) มีสัดส่วนร้อยละ 36 ของรายได้ทั้งหมด (2) รายได้จากเงินอุดหนุนตามขนาดที่ได้รับการจัดสรรเพิ่มเติมตามหลักเกณฑ์การถ่ายโอน มีสัดส่วนร้อยละ 40 (3) เงินอุดหนุนเพิ่มเติมจาก อบจ. เฉลี่ยร้อยละ 3 (4) เงินอุดหนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ร้อยละ 6 (5) เงินค่าเสื่อมราคาร้อยละ 5 และ (6) รายได้อื่น ๆ ร้อยละ 10 6) การอภิบาลระบบสุขภาพปฐมภูมิ พบว่า หลังการถ่ายโอน มีแนวโน้มว่าระบบสุขภาพปฐมภูมิในส่วนของ อบจ. และส่วนของ สสจ. จะแยกออกจากกัน หากไม่ได้รับการบูรณาการที่เหมาะ ซึ่งทั้ง สสจ. และ อบจ. มีความเห็นตรงกันว่า ควรมีการพัฒนาระบบอภิบาลของชาติให้มีเอกภาพตามหลักการระบบสุขภาพปฐมภูมิ และ 7) การมีส่วนร่วมของประชาชน พบว่า หลังการถ่ายโอน ผลลัพธ์และผลกระทบต่อประชาชนในด้านบริการต่าง ๆ ของ รพ.สต. ส่วนใหญ่ยังคงเหมือนกับก่อนการถ่ายโอน ประชาชนมีความพึงพอใจมากขึ้น และมีความเชื่อมั่นในการให้บริการของ รพ.สต.th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนจังหวัดth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขth_TH
dc.subjectPublic Health Administrationth_TH
dc.subjectการกระจายอำนาจด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectPrimary Health Careth_TH
dc.subjectบริการปฐมภูมิ (การแพทย์)th_TH
dc.subjectPrimary Care (Medicine)th_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectการประเมินผลth_TH
dc.subjectEvaluationth_TH
dc.subjectMeasurementth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleสรุปภาพรวม โครงการวิจัยประเมินผลนโยบายการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัดth_TH
dc.title.alternativeThe Policy Evaluative Research Project on The Transference of Tambol-Promotion-Hospitals to Provincial Administration Organizationth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeSummary Report Objectives Part 1 : To evaluate the operations of Provincial Administrative Organizations (PAOs) in terms of whether they have carried out their missions in accordance with the transfer criteria specified by the Announcement of the Committee. The evaluation includes assessing the results of these operations, identifying strengths and weaknesses (or opportunities and obstacles), and providing recommendations for future improvement and development. Part 2: Overall Status of the Primary Health Care (PHC) system, with PHC units (PCUs) as the main service providers in the area, after they have been transferred to the PAOs. This includes identifying any changes, the overall status of the system, strengths and weaknesses that need enhancement or improvement, and suggestions for future development. Part 3: To evaluate the Six+One Key Components of the PHC System, focusing on the status after the transfer. This involves identifying strengths and weaknesses of each component and providing recommendations for strengthening and developing these components in the future. Methodology The evaluation uses a "mixedmethods research" approach: Qualitative Study: Conducted in collaboration with the Health Systems Research Institute (HSRI), selecting 3 2 PCUs across 8 provinces in 4 regions of the country. Quantitative Study: Utilizing a survey method, questionnaires were distributed to the entire population (3,263 SHPHs, 49 PAOs, and 49 Provincial Public Health Offices). Responses were received from 35 PAOs, 35 Provincial Public Health Offices, and 450 PCUs. The responses were statistically validated at a 95% confidence level. The evaluation results are divided into 3 parts as follows. Part 1: The results of the evaluation of the progress of the PAOs operations, whether they have complied with the transfer criteria according to the announcement of the committee or not, that is, the progress in establishment and operation. In terms of organizational structure, it was found that every province has already been established. The establishment of the Public Health Division in the PAOs found that all PAOs have implemented "Already completed" in 4 activities, progress in personnel operations The acceptance of voluntary personnel transfers to all PAOs has been completed. Progress in operations regarding budget, finance and accounting found that all Provincial Administrative Organizations have performed "successfully" in 4 activities. Progress in operations in supervision, monitoring and evaluation was found that after the transfer of 5-6 This month, the PAOs was unable to complete a complete performance evaluation, but the PAOs took care by appointing a sub-committee. Including the evaluation cycle being clearly defined. Part 2 Results of the overall assessment of the primary care system; The evaluation results found that after the transfer, the overall structure of the primary health system remained the same (as before the transfer); and the overall status of the primary health system was found to be in comparison of services between before the transfer and after the transfer. It was found that most of them remain the same. Part 3 Results of the evaluation of 7 main parts. The results of the evaluation found that 1) Primary health service provision of the Subdistrict Health Promotion Hospital (SHPHs). It can be concluded that the models and characteristics of most services Still using the same format according to the criteria of the star rated SHPHs. 2) Manpower management. It was found that after the transfer of the number of manpower of the SHPHs, the manpower increased from before the transfer by an average of 0.74 people per hospital. 3) Information system management, found that for the most part, information system management remains the same as before the transfer. 4) Management of medicines, medical supplies, and medical equipment. It was found that after the transfer to the PAOs, overall medicine management medical supplies and medical equipment of the SHPHs (93.75 percent) remain the same. 5) Management of the financial system and budget found that after the transfer the characteristics have changed as follows: (1 ) Lump sum payments per capita from NHSO account for 36 percent of total income. (2) Income from subsidies according to the size has been additionally allocated according to the transfer criteria. The proportion is 40 percent, (3) additional subsidies from the PAO, an average of 3 percent, (4) Subsidies from the local health insurance fund, 6 percent, (5) Depreciation money, 5 percent, and (6) Income other 10 percent 6) Primary health system governance found that after the transfer It is likely that the primary health system of the PAO and the Provincial Public Health Office will be separated from each other. If there is no proper integration, which both the Provincial Public Health Office and the PAO agree that There should be a unified national health care system developed according to the principles of the primary health system and 7) Public participation. It was found that after the transfer the results and impact on the people in various services at the SHPHs remain mostly the same as before the transfer. People are more satisfied. and have confidence in the services of the SHPHs.th_TH
dc.identifier.callnoWA540.JT3 อ785ก 2567
dc.identifier.contactno65-133
dc.subject.keywordHealth Decentralizeth_TH
dc.subject.keywordHealth Decentralizationth_TH
dc.subject.keywordการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขth_TH
dc.subject.keywordอบจ.th_TH
dc.subject.keywordรพ.สต.th_TH
.custom.citationอุดม ทุมโฆสิต, Udom Tumkosit, ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์, Direk Patamasiriwat, วรพิทย์ มีมาก, Worapit Meemak, วีระวัฒน์ ปันนิตามัย, Werawat Punnitamai, นิธินันท์ ธรรมากรนนท์, Nithinant Thammakoranonta, จันทรานุช มหากาญจนะ, Chandranuj Mahakanjana, หลี่, เหรินเหลียง, Li, Renliang, ประยงค์ เต็มชวาลา, Prayong Temchavala, รติพร ถึงฝั่ง, Ratiporn Teungfung, ภาวิณี ช่วยประคอง, Pawinee Chuayprakong, สุรชัย พรหมพันธุ์, Surachai Phromphan, กรณ์ หุวะนันทน์, Gorn Huvanandana, วิทยา โชคเศรษฐกิจ, Wittaya Choksettakij, สมศักดิ์ จึงตระกูล, Somsak Jungtrakul, อลงกต สารกาล, Alongkot Sarakarn, จิรวัฒน์ ศรีเรือง, Jirawat Sriruang, สุพัฒน์จิตร ลาดบัวขาว and Supatjit Ladbuakhao. "สรุปภาพรวม โครงการวิจัยประเมินผลนโยบายการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6134">http://hdl.handle.net/11228/6134</a>.
.custom.total_download210
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month9
.custom.downloaded_this_year210
.custom.downloaded_fiscal_year28
.custom.is_recommendedtrue

Fulltext
Icon
Name: hs3158.pdf
Size: 1.178Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record