dc.contributor.author | เบญจรินทร์ สันตติวงศ์ไชย | th_TH |
dc.contributor.author | Benjarin Santatiwongchai | th_TH |
dc.contributor.author | รักมณี บุตรชน | th_TH |
dc.contributor.author | Rukmanee Butchon | th_TH |
dc.contributor.author | ณชวิศ กิตติบวรดิฐ | th_TH |
dc.contributor.author | Nachawish Kittibovorndit | th_TH |
dc.contributor.author | นิชาต์ มูลคำ | th_TH |
dc.contributor.author | Nicha Moonkham | th_TH |
dc.contributor.author | มานิต สิทธิมาตร | th_TH |
dc.contributor.author | Manit Sittimart | th_TH |
dc.contributor.author | กานต์ชนก ศิริสอน | th_TH |
dc.contributor.author | Kanchanok Sirison | th_TH |
dc.contributor.author | อธิเจต มงคลโสฬส | th_TH |
dc.contributor.author | Athijade Mongkolsoros | th_TH |
dc.contributor.author | พสิษฐ์ ทองสีนุช | th_TH |
dc.contributor.author | Pasit Thongsrinuch | th_TH |
dc.contributor.author | วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย | th_TH |
dc.contributor.author | Wanrudee Isaranuwatchai | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-10-03T04:29:13Z | |
dc.date.available | 2024-10-03T04:29:13Z | |
dc.date.issued | 2567-08 | |
dc.identifier.other | hs3169 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/6164 | |
dc.description.abstract | การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ (health technology assessment, HTA) และข้อมูลวิชาการต่าง ๆ เป็นเครื่องมือสำคัญเพื่อประกอบการกำหนดนโยบายของผู้กำหนดนโยบาย อย่างไรก็ตามกระบวนการ HTA และสังเคราะห์ข้อมูลวิชาการที่จำเป็นเหล่านี้มักใช้เวลานาน หลายครั้งทำให้การกำหนดนโยบายล่าช้าไป และไม่เหมาะกับคำถามนโยบายที่เร่งด่วนหรือมีข้อจำกัดด้านเวลา งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำข้อมูลเพื่อตอบคำถามเชิงนโยบายสาธารณสุขที่เร่งด่วนหรือมีข้อจำกัดด้านเวลา (ในที่นี้คือต้องการคำตอบภายในไม่เกิน 3 เดือน) และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะในกรณีที่มีการวางกระบวนการตอบคำถามอย่างเร่งด่วนในประเทศไทย โดยมีขอบเขตครอบคลุมคำถามเกี่ยวกับนโยบายการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคำถามเพื่อพัฒนาหรือสนับสนุนการพัฒนานโยบายด้านสุขภาพอื่น ๆ งานวิจัยนี้เสนอว่าเกณฑ์เบื้องต้นที่ใช้ในการคัดเลือกคำถามที่เหมาะสมจะตอบด้วยกระบวนการสังเคราะห์ข้อมูลอย่างเร็ว ประกอบด้วยความเร่งด่วน ความแน่นอน และการมีผลกระทบด้านงบประมาณต่ำ อย่างไรก็ตามการปรับใช้กับนโยบายและเทคโนโลยีต่าง ๆ ต้องพิจารณาปัจจัยอื่น ๆ ร่วมด้วย ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 – 31 มกราคม พ.ศ. 2567 ผู้วิจัยตอบคำถามทั้งสิ้น 16 คำถาม ซึ่งเข้าเกณฑ์เบื้องต้นในการคัดเลือกคำถาม งานวิจัยนี้พบว่า แม้การสังเคราะห์ข้อมูลอย่างเร็วจะไม่สามารถแทนที่ HTA แบบเต็มรูปแบบได้ แต่ก็เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนานโยบายด้านสาธารณสุขเป็นอย่างยิ่ง | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | นโยบายสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Health Policy | th_TH |
dc.subject | นโยบายสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.subject | องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล | th_TH |
dc.title | กระบวนการสังเคราะห์ข้อมูลอย่างเร็วเพื่อตอบคำถามเชิงนโยบายสาธารณสุข เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบสาธารณสุขไทย และการกระจายอำนาจด้านสุขภาพสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | th_TH |
dc.title.alternative | Rapid Evidence Synthesis System on Health Policy Questions to the Development of Thai Health System and Health Service Decentralisation to Local Administration | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Health Technology Assessment (HTA) and academic evidence are important tools for policy makers
in formulating policies. However, process for HTA and evidence synthesis are often time-consuming,
causing delays in policy-making and are not suitable for urgent policy questions or those with time
constraints. This research aims to synthesise data to answer urgent or time-limited public health
policy questions (defined here as requiring answers within no more than 3 months) and to make
recommendations should a rapid response process are to be established to answer policy-related
questions in Thailand. The scope of this study includes questions about policies regarding the health
decentralisation to to local administrative organizations, and questions seeking for information to
support health policy developments.
This research proposes that the initial criteria used in selecting appropriate questions to be answered
through a rapid evidence synthesis process include urgency, certainty, and low budget impact.
However, other factors also need to be considered when applying the criteria to health policiesand technologies-related questions. From 1 November 2023 to 31 January 2025, the researcher
answered a total of 16 questions that met the initial criteria for selection. This research found that
although rapid data synthesis cannot replace a full HTA, it is a very useful tool for developing public
health policies. | th_TH |
dc.identifier.callno | WA540.JT3 บ783ก 2567 | |
dc.identifier.contactno | 66-011 | |
dc.subject.keyword | การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject.keyword | Health Decentralization | th_TH |
dc.subject.keyword | Health Decentralize | th_TH |
dc.subject.keyword | Local Administrative Organization | th_TH |
.custom.citation | เบญจรินทร์ สันตติวงศ์ไชย, Benjarin Santatiwongchai, รักมณี บุตรชน, Rukmanee Butchon, ณชวิศ กิตติบวรดิฐ, Nachawish Kittibovorndit, นิชาต์ มูลคำ, Nicha Moonkham, มานิต สิทธิมาตร, Manit Sittimart, กานต์ชนก ศิริสอน, Kanchanok Sirison, อธิเจต มงคลโสฬส, Athijade Mongkolsoros, พสิษฐ์ ทองสีนุช, Pasit Thongsrinuch, วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย and Wanrudee Isaranuwatchai. "กระบวนการสังเคราะห์ข้อมูลอย่างเร็วเพื่อตอบคำถามเชิงนโยบายสาธารณสุข เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบสาธารณสุขไทย และการกระจายอำนาจด้านสุขภาพสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6164">http://hdl.handle.net/11228/6164</a>. | |
.custom.total_download | 32 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 2 | |
.custom.downloaded_this_year | 32 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 32 | |