Show simple item record

Development on Policy Options for Doctors Working in Sub-district Health Promoting Hospital

dc.contributor.authorฑิณกร โนรีth_TH
dc.contributor.authorThinakorn Noreeth_TH
dc.contributor.authorณัฐวุฒิ เอี่ยงธนรัตน์th_TH
dc.contributor.authorNatthawut Iangtanaratth_TH
dc.date.accessioned2024-10-28T04:40:29Z
dc.date.available2024-10-28T04:40:29Z
dc.date.issued2567-10
dc.identifier.otherhs3194
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/6180
dc.description.abstractนโยบายการมีแพทย์ไปให้บริการในหน่วยบริการปฐมภูมิ/โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) มีมาอย่างยาวนาน ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีพระราชบัญญัติระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิขึ้น มีเจตนารมณ์ให้ประชาชนชาวไทยมีสิทธิได้รับบริการสุขภาพปฐมภูมิที่เป็นธรรม มีคุณภาพ และมีมาตรฐาน โดยกำหนดให้มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดูแลในอัตราส่วน 1:10,000 ประชากร ในปี พ.ศ. 2566 ได้มีนโยบายที่จะเพิ่มการผลิตแพทย์ของประเทศไทย เพื่อให้ไปปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล แห่งละ 3 คน โดยกำหนดเป้าหมาย 30,000 คน ในระยะเวลา 6 ปี และจะมีการใช้งบประมาณ 1.5 แสนล้านบาท การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาข้อเสนอนโยบายการกระจายแพทย์ลงไปปฏิบัติงานที่ รพ.สต. จะมีวิธีการบริหารจัดการอย่างไร ให้เกิดความคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพสูงที่สุด โดยใช้การทบทวนวรรณกรรม (Literature review) และการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder analysis) จำนวน 16 คน และการประชุมปรึกษาหารือกับผู้เชี่ยวชาญ (Expert consultative meeting) ได้ข้อคันพบที่สำคัญ ดังนี้ ในภาพรวมทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเห็นด้วยกับนโยบายดังกล่าว เพราะจะทำให้ยกระดับการบริการของ รพ.สต. และเพิ่มการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพของประชาชน อย่างไรก็ตามมีข้อกังวลในเรื่องระบบการผลิตแพทย์ และการสรรหาแพทย์ที่สอดคล้องกับการทำงานใน รพ.สต. รวมถึงระบบสนับสนุนต่าง ๆที่จะทำให้แพทย์เหล่านั้นคงอยู่ใน รพ.สต. รวมถึงการบริหารจัดการเชิงระบบขององค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ในการจัดระบบบริการดังกล่าว ข้อเสนอเชิงนโยบายในการนำแพทย์ไปปฏิบัติงานใน รพ.สต. มีดังนี้ การดำเนินงานควรเป็นระยะ (Phasing) โดยเริ่มจาก อบจ.และพื้นที่ใน อบจ.ที่มีความพร้อม โดยเริ่มจากการขยายบริการของ รพ.สต. เดิมในการเพิ่มศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและกลุ่มผู้สูงอายุ การสรรหาแพทย์ในระยะสั้นใช้การจ้างแพทย์ที่เกษียณ ในระยะยาวผลิตแพทย์ที่จะลงมาปฏิบัติงานใน รพ.สต. โดยทำโครงการร่วมกับ อบจ. นอกจากนี้การพัฒนาทีมสหวิชาชีพ ระบบยา การตรวจทางห้องปฏิบัติการ รวมถึงการจัดโครงสร้างกองสาธารณสุขใน อบจ.และมีคณะที่ปรึกษาสหวิชาชีพกับ อบจth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.subjectกำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce)th_TH
dc.subjectกำลังคนด้านสาธารณสุขth_TH
dc.subjectบุคลากรทางการแพทย์th_TH
dc.subjectMedical Personnelth_TH
dc.subjectHealth Manpowerth_TH
dc.subjectHealth Workerth_TH
dc.subjectHealth Workforceth_TH
dc.subjectHealthcare Workersth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลth_TH
dc.subjectบริการปฐมภูมิ (การแพทย์)th_TH
dc.titleการวิจัยเชิงสังเคราะห์ : ข้อเสนอทางเลือกเชิงนโยบายในการกระจายแพทย์ไปปฏิบัติงานที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.)th_TH
dc.title.alternativeDevelopment on Policy Options for Doctors Working in Sub-district Health Promoting Hospitalth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThailand has had prior policies in sending medical doctors to work in health centers many years ago. Primary Care Act, launched in 2019, aims to provide quality primary care services for all Thais. This Act designates that each 10,000 population should has their own one family doctor. In 2023, there was a political movement to place 3 doctors to every health center. This policy needs around additional 30,000 doctors within 6 years. Expected budget will be around 0.15 billion THB. This study was conducted to develop policy recommendations on how to properly manage doctors to work in health centers. Literature review, stake-holder analysis and expert consultation were used. The key findings are all stake-holders agree with the benefits of this policy in order to strengthen an accessibility to quality services. However, some concerns are addressed, such as, suitable medical curriculum, recruitment system, supporting systems for retention and managerial issues of local government. Policy recommendations are this policy should be divided into periods depending on preparedness of Provincial Administrative Office – PAO. Strengthening in services of noncommunicable diseases and elderly should be prior considered. In short term, retired doctors will be recruited. In long term, more doctors specifically for health center should be produced. Multidisciplinary team, appropriate drug lists and laboratory system, and also good advisory team in PAO are key success factors.th_TH
dc.identifier.contactno67-066
.custom.citationฑิณกร โนรี, Thinakorn Noree, ณัฐวุฒิ เอี่ยงธนรัตน์ and Natthawut Iangtanarat. "การวิจัยเชิงสังเคราะห์ : ข้อเสนอทางเลือกเชิงนโยบายในการกระจายแพทย์ไปปฏิบัติงานที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.)." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6180">http://hdl.handle.net/11228/6180</a>.
.custom.total_download22
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month4
.custom.downloaded_this_year22
.custom.downloaded_fiscal_year22

Fulltext
Icon
Name: hs3194.pdf
Size: 3.112Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record