แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การศึกษาพันธุกรรมและระดับการเติมหมู่เมธิลในดีเอ็นเอกับความสัมพันธ์ของการพบรอยโรคมะเร็งทวารหนัก

dc.contributor.authorอุทัยวรรณ อุทัยพัฒน์th_TH
dc.contributor.authorUtaiwan Utaipatth_TH
dc.contributor.authorสุมาลี ศิริอังกูรth_TH
dc.contributor.authorSumalee Siriaungkulth_TH
dc.contributor.authorอมราภรณ์ ฤกษ์เกษมth_TH
dc.contributor.authorAmaraporn Rerkasemth_TH
dc.contributor.authorศิริพงษ์ ตองใจth_TH
dc.contributor.authorSiripong Tongjaith_TH
dc.contributor.authorปทุมรัตน์ ศรีพันธ์th_TH
dc.contributor.authorPatumrat Sripanth_TH
dc.contributor.authorผ่องพรรณ เสาร์เขียวth_TH
dc.contributor.authorPongpun Saokhieoth_TH
dc.date.accessioned2024-11-07T07:35:37Z
dc.date.available2024-11-07T07:35:37Z
dc.date.issued2567-11
dc.identifier.otherhs3204
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/6193
dc.description.abstractการศึกษานี้ต้องการศึกษาการเติมหมู่เมธิลในดีเอนเอ (DNA Methylation) ในสิ่งส่งตรวจเซลล์จากทวารหนักในประชากรชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย (men who have sex with men, MSM) ซึ่งเป็นผู้ที่มีความเสี่ยงมะเร็งทวารหนักจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี (Human Papilloma virus, HPV) ชนิดเสี่ยงสูง แบบคงอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวี (Human Immunodeficiency virus, HIV) ร่วมด้วย ในการศึกษานี้ทำการคัดอาสาสมัครประชากรชายเข้าโครงการ 180 ราย แบ่งเป็นชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย 152 ราย และกลุ่มควบคุม 28 ราย ซึ่งเป็นชายทั่วไปที่มีเพศสัมพันธ์กับหญิง (men who have sex with women, MSW) เก็บข้อมูลด้านประชากร และด้านพฤติกรรมต่าง ๆ โดยวิธี Computer Assisted Self-interview รวมทั้งเก็บเซลล์ทวารหนักเพื่อศึกษา anal cytology และสกัดดีเอนเอ นอกจากนี้ โครงการนี้ต้องการพัฒนาวิธี Methylation -sensitive high resolution melting assay (MS HRM) ในการศึกษา DNA methylation และมีการสอบทานด้วย Whole genome bisulfite sequencing (WGBS) ผลการศึกษา การตรวจ anal cytology กลุ่ม MSM พบความผิดปกติสัดส่วนมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (51/152 (33.55%) vs 3/27 (11.11%), p < 0.05 Fisher’s exact test) ความชุกการติดเชื้อไวรัสเอชพีวีในประชากร MSM สูงถึง 90.13% (137/152) สูงกว่าประชากร MSW ที่พบการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี 21.43% (6/28) อย่างมีนัยสำคัญ ( p < 0.001, Fisher’s exact test) ความชุกการติดเชื้อไวรัสเอชไอวีในประชากร MSM 46.05% เทียบกับ 3.57% ความชุกการติดเชื้อไวรัสเอชไอวีใน MSW (p < 0.001, Fisher’s exact test) ในการพัฒนาวิธี MS HRM เพื่อตรวจระดับ DNA methylation ในสิ่งส่งตรวจสารสกัดดีเอนเอจาก anal pap พบว่า ผลจากวิธี MS HRM มีความสอดคล้องเทียบกับผลจากวิธี WGBS (R2 = 0.9460, P < 0.0001 Pearson correlation) รวมทั้งความสอดคล้องที่แสดงโดย Bland-Altman Plot ผลการวัดซ้ำ (Reproducibility) โดยวิเคราะห์ intra-assay และ inter-assay อยู่ในเกณฑ์ยอมรับได้ มีค่า Coefficient of variation (CV) 9.77% และ 8.58% ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์ ANOVA และ multiple comparison ด้วย Holm-Sidak ระดับ CBLN4 DNA methylation โดยวิธี MS HRM ที่พัฒนาขึ้นนี้ พบว่าเมื่อเทียบกับ NILM HPVHIV- ระดับ CBLN4 DNA methylation มีระดับที่สูง ในประชากรกลุ่มที่ติดเชื้อไวรัสเอชพีวีร่วมกับไวรัสเอชไอวี คือ กลุ่ม ASCUS+ HPV+HIV+ (adjusted P < 0.005) NILM HPV+HIV+ (adjusted P < 0.05) ผล ROC curve เทียบกับกลุ่ม NILM HPV+HIV- กลุ่ม ASCUS+ HPV+HIV+มี AUC 0.9548 P < 0.0001 กลุ่ม NILM HPV+HIV+ มี AUC 0.7764 P < 0.0001 จากการติดตามประชากรที่เป็นกลุ่มเสี่ยง (ASCUS+ HPV+) ที่ติดหรือไม่ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ไปอย่างน้อย 1 ปี จากการวิเคราะห์โดย heat map ระดับ CBLN4 DNA methylation ในช่วงเริ่มต้น พบว่า รายที่ตรวจผลชิ้นเนื้อเป็น Negative ต่อมะเร็ง มีระดับ CBLN4 DNA methylation ไม่สูง ในขณะที่รายที่มีระดับ CBLN4 DNA methylation ค่อนข้างสูง โดยเฉพาะผู้ที่ติดเชื้อไวรัสเอชไอวีร่วมด้วย มีโอกาสพบผลชิ้นเนื้อผิดปกติ LSIL หรือ HSIL โดยสรุป การศึกษานี้ ยืนยันว่าประชากร MSM เป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงมะเร็งทวารหนัก มีปัจจัยเสี่ยงจากการพบมีความชุกสูงในการติดเชื้อไวรัสเอชพีวีและไวรัสเอชไอวีรวมทั้งการพบความผิดปกติของ anal pap ที่พบบ่อยในกลุ่ม MSM เทียบกับกลุ่มควบคุม ทั้งนี้การวิเคราะห์ DNA methylation โดย MS HRM ในยีนส์เป้าหมาย CBLN4 มีความน่าสนใจที่บ่งชี้ผู้ที่ติดเชื้อไวรัสเอชพีวีร่วมกับไวรัสเอชไอวีที่จะมีความเสี่ยงมะเร็งทวารหนักแม้จะไม่ทราบผลการตรวจ anal cytology มาก่อน ซึ่งอาจเป็นประโยชน์ใช้เสริมการคัดกรองมะเร็งทวารหนักหรือมะเร็งที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี ทั้งนี้ แนวทางการวิเคราะห์นี้จะดำเนินการต่อในการหาความน่าสนใจของ DNA methylation ในยีนส์ RASSF1A, SFRP2, CDKN2A เพื่อหาความสัมพันธ์กับตัวแปรปัจจัยเสี่ยง เช่น การติดเชื้อไวรัสเอชพีวี การติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ความผิดปกติทางคลินิกที่ทวารหนักth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectมะเร็งทวารหนักth_TH
dc.subjectAnal Cancerth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.subjectการตรวจคัดโรคth_TH
dc.subjectDNA Methylationth_TH
dc.subjectจีโนมมนุษย์th_TH
dc.subjectGenomicsth_TH
dc.titleการศึกษาพันธุกรรมและระดับการเติมหมู่เมธิลในดีเอ็นเอกับความสัมพันธ์ของการพบรอยโรคมะเร็งทวารหนักth_TH
dc.title.alternativeAn Evaluation of Genomic and DNA Methylation and Their Association with Anal Cancerous Lesionsth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to investigate DNA methylation in anal pap specimens in male who have sex with men ( MSM) populations who are at risk for anal cancer development due to persistent infection with high-risk type human papillomavirus (HPV) infection, especially in people with human immunodeficiency virus (HIV). In this study, 180 male volunteers were recruited into the study, which included 152 MSM and a control group of 28 men who have sex with women (MSW). Demographic and behavioral data were collected by Computer Assisted Self-interview. HIV testing, anal cytology and anal pap DNA extraction for HPV testing and genotyping were conducted. In addition, DNA methylation studies were performed using Methylation-sensitive high resolution melting assay (MS HRM) developed in this study that were validated with Whole genome bisulfite sequencing (WGBS). Result: Anal cytology examination in the MSM group showed a significant proportion of abnormalities than the control group (51/152 (33.55%) vs 3/27 (11.11%), p < 0.05 Fisher's exact test). The prevalence of HPV infection in the MSM population was 90. 13% (137/152), significantly higher than that of the MSW population with 21.43% (6/28) HPV infection (p < 0.001, Fisher's exact test). Also, significantly higher HIV prevalence was found among MSM population than that in in MSW ( 70/ 152 (46.05%) vs 1/28 (3.57%), p < 0.001, Fisher's exact test). DNA methylation assessment using MSHRM developed in this study was consistent with the standard method using WGBS (R2 = 0. 9460 P < 0. 0001 Pearson correlation) and visualization of the BlandAltman plot revealed an agreement of DNA methylation between the two methods. The acceptant reproducibility of MS HRM DNA methylation was shown by the coefficient of variations, 9.77% and 8.58%, as assessed by the Intra- and inter-assay measurement, respectively. ANOVA analysis and multiple comparison with Holm-Sidak revealed the significantly high level of CBLN4 DNA methylation especially among the group infected with HPV and HIV , i.e . ASCUS+ HPV+HIV+ (adjusted P < 0.005), NILM HPV+HIV+ (adjusted P < 0.05) compared to NILM HPV-HIV-. In addition, ROC curve analysis in comparison to NILM HPV+HIV-, the ASCUS+ HPV+HIV+ group had AUC 0.9548 (P < 0.0001 ) and the NILM HPV+HIV+ group had AUC 0.7764 P (< 0.0001 ). After following the population in the at-risk group (ASCUS+ HPV+) regardless of HIV status for at least 1 year, the heat map analysis of CBLN4 DNA methylation at baseline, revealed that those who tested negative histology for cancer had relatively low levels of CBLN4 DNA methylation, while those with relatively high levels of CBLN4 DNA methylation, especially those who were also infected with HIV, there is a chance of abnormal biopsy results such as LSIL or HSIL. In conclusion, this study confirms that the MSM population is a group at risk for anal cancer with the high prevalence of HPV and HIV infection, as well as the detection of abnormal anal pap that were common in the MSM group compared to the MSW group. DNA methylation analysis by MS HRM in the CBLN4 target gene is interesting as it indicates people infected with HPV and HIV will be at risk of anal cancer regardless of anal cytology testing which may be useful as an adjunct screening test for anal cancer or cancers associated with HPV infection. The analyses of DNA methylation by MS HRM in RASSF1A, SFRP2, CDKN2A target genes remain underway to examine the correlation with risk factor variables such as HPV infection, HIV status and anal cytology/histology clinical factors.th_TH
dc.identifier.contactno64-116
.custom.citationอุทัยวรรณ อุทัยพัฒน์, Utaiwan Utaipat, สุมาลี ศิริอังกูร, Sumalee Siriaungkul, อมราภรณ์ ฤกษ์เกษม, Amaraporn Rerkasem, ศิริพงษ์ ตองใจ, Siripong Tongjai, ปทุมรัตน์ ศรีพันธ์, Patumrat Sripan, ผ่องพรรณ เสาร์เขียว and Pongpun Saokhieo. "การศึกษาพันธุกรรมและระดับการเติมหมู่เมธิลในดีเอ็นเอกับความสัมพันธ์ของการพบรอยโรคมะเร็งทวารหนัก." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6193">http://hdl.handle.net/11228/6193</a>.
.custom.total_download4
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month4
.custom.downloaded_this_year4
.custom.downloaded_fiscal_year4

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs3204.pdf
ขนาด: 2.546Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย