dc.contributor.author | นันทวัน ยันตะดิลก | th_TH |
dc.contributor.author | Nuntawun Yuntadilok | th_TH |
dc.contributor.author | พระยงยุทธ ญาณวโร (สงวนชม) | th_TH |
dc.contributor.author | Phra Yongyuth Yanavaro (Sanguanchom) | th_TH |
dc.contributor.author | รัตนา ทิมเมือง | th_TH |
dc.contributor.author | Rattana Timmaung | th_TH |
dc.contributor.author | สุริยา บุตรพันธ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Suriya Butrapun | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-11-20T07:35:31Z | |
dc.date.available | 2024-11-20T07:35:31Z | |
dc.date.issued | 2567-10 | |
dc.identifier.other | hs3205 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/6195 | |
dc.description.abstract | โครงการยกระดับระบบการดูแลพระสงฆ์ที่มีภาวะพึ่งพิงระยะยาว มีที่มาจากสถานการณ์การดูแลพระสงฆ์ที่มีภาวะพึ่งพิงที่ยังไม่ได้รับการดูแลที่มีมาตรฐาน เข้าไม่ถึงบริการด้านสุขภาพ และผู้ดูแลเป็นผู้หญิงซึ่งไม่สอดคล้องกับพระธรรมวินัย จึงต้องจัดฝึกอบรมพระสงฆ์/สามเณรให้มาดูแลพระสงฆ์อาพาธ การดำเนินงานโครงการได้ประสานงานองค์กรหน่วยงานและผู้เกี่ยวข้องให้มีภาคีร่วมงานระดับประเทศเพื่อสนับสนุนด้านวิชาการ ได้แก่ กรมอนามัย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมการแพทย์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) รวมทั้งประสานงานแบบมีส่วนร่วมกับวัดในพื้นที่ดำเนินงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบจ. เทศบาล อบต.) โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สำนักงานหลักประกันสุขภาพเขตในพื้นที่โครงการและภาคประชาสังคม สำรวจและเตรียมข้อมูลสถานการณ์ด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับพระสงฆ์ การคัดเลือกวัดที่มีความพร้อมต่อการจัดตั้งศูนย์ดูแลพระสงฆ์ในพื้นที่ จัดตั้งคณะทำงานระดับพื้นที่เพื่อร่วมดำเนินการและติดตามผลการคัดเลือกพระสงฆ์/สามเณรที่มีคุณสมบัติและอายุ 18 ปีขึ้นไป วัดละ 20 รูป เข้ารับการอบรมหลักสูตรของกรมอนามัย 420 ชั่วโมง ที่พัฒนาอย่างเหมาะสมต่อการดูแลพระสงฆ์ที่มีภาวะพึ่งพิง มีการติดตามกำกับประเมินผลงาน ถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานในทุกพื้นที่ ศึกษาปัจจัยความสำเร็จและปัจจัยอุปสรรคเพื่อสร้างความยั่งยืนให้แก่โครงการ และสรุปผลการดำเนินงานจากความเห็นของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและภาคประชาสังคม | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | การดูแลสุขภาพ--พระสงฆ์ | th_TH |
dc.subject | ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) | th_TH |
dc.title | การยกระดับระบบการดูแลพระสงฆ์ที่มีภาวะพึ่งพิงระยะยาว | th_TH |
dc.title.alternative | Enhancing the System of Long Term Care for Buddhist Monks | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The project to upgrade the system for monks who require long-term care originated
from the need to support dependent monks who lack access to State care or health services.
The gap is exacerbated by the dominance of women as caregivers, which is not in accordance
with Buddhist precepts. To address this, capacity training was provided for monks and
novices to provide such care for sick monks.
The project was implemented in coordination with relevant organizations, agencies
and partners at the national level to provide academic support. These agencies included the
Department of Health, Department of Medical Services Maha Chulalongkorn Rajavidyalaya
University, National Office of Buddhism and National Health Security Office (NHSO). The
project also worked closely with participating temples in the project area included Rayong,
Lampoon, Suphanburi, Amnatcharoen, Nakonsrithamraj as well as provincial public health
offices, local administrative organizations municipalities, Tambon Administrative
Organizations, community hospitals, sub-district health promotion hospitals, health security
offices and civil society organizations.
Following a survey and collation of health status data for monks in the project area,
the project selected temples that were ready to establish monk care centers. A local working
group was then established to jointly implement the project and monitor results. A group of
20 monks and novices over 18 years old were selected to attend a 420-hour training course
to provide standardized care for sick monks, under Department of Health oversight and
developed to meet the specific needs and circumstances of dependent monks. Performance
was monitored and evaluated, lessons documented and an exchange of knowledge
conducted across all aspects of the work. Success factors and challenges were identified to
ensure post-closure sustainability and to summarize outcomes from the perspectives of
concerned agencies and civil society organizations. | th_TH |
dc.identifier.callno | WB327 น424ก 2567 | |
dc.identifier.contactno | 66-066 | |
dc.subject.keyword | สถานชีวาภิบาล | th_TH |
dc.subject.keyword | กุฎิชีวาภิบาล | th_TH |
dc.subject.keyword | ศูนย์ดูแลพระสงฆ์ | th_TH |
.custom.citation | นันทวัน ยันตะดิลก, Nuntawun Yuntadilok, พระยงยุทธ ญาณวโร (สงวนชม), Phra Yongyuth Yanavaro (Sanguanchom), รัตนา ทิมเมือง, Rattana Timmaung, สุริยา บุตรพันธ์ and Suriya Butrapun. "การยกระดับระบบการดูแลพระสงฆ์ที่มีภาวะพึ่งพิงระยะยาว." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6195">http://hdl.handle.net/11228/6195</a>. | |
.custom.total_download | 4 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 4 | |
.custom.downloaded_this_year | 4 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 4 | |