แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

คุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย

dc.contributor.authorภัทรวดี ลีลาทวีวุฒิth_TH
dc.contributor.authorPattarawadee Leelataweewudth_TH
dc.contributor.authorวรางคณา จิรรัตนโสภาth_TH
dc.contributor.authorVarangkanar Jirarattanasophath_TH
dc.contributor.authorวลันยา สากลวารีth_TH
dc.contributor.authorWalanya Sakolwareeth_TH
dc.contributor.authorวิไล อริยะวุฒิกุลth_TH
dc.contributor.authorWilai Ariyavutikulth_TH
dc.contributor.authorนพวรรณ โพชนุกูลth_TH
dc.contributor.authorNoppawan Pochanukulth_TH
dc.contributor.authorกรกมล นิยมศิลป์th_TH
dc.contributor.authorKornkamol Niyomsilpth_TH
dc.date.accessioned2025-03-17T02:53:37Z
dc.date.available2025-03-17T02:53:37Z
dc.date.issued2568-03
dc.identifier.otherhs3248
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/6243
dc.description.abstractบทนำ โรคฟันผุในเด็กปฐมวัยยังคงเป็นปัญหาที่ชุกชุมถึงแม้จะมีความพยายามในการหยุดยั้งโรคนี้อย่างต่อเนื่อง การประเมินผลกระทบของโรคฟันผุปฐมวัยที่ผ่านมามีเฉพาะผลต่ออาการและการทำหน้าที่ของฟันเท่านั้น การศึกษานี้จึงเป็นการศึกษาแรกที่ศึกษาคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็ก ซึ่งเป็นตัวแทนของเด็กก่อนวัยเรียนและครอบครัวโดยใช้วัดคือ “มาตรวัดผลกระทบของโรคฟันผุในเด็กปฐมวัย ฉบับภาษาไทย” วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียนด้วยมาตรวัดผลกระทบของโรคฟันผุในเด็กปฐมวัย ฉบับภาษาไทย วัสดุและวิธีการ ทำการตรวจวัดคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากของเด็กอายุ 3 ถึง 5 ปี โดยให้พ่อแม่หรือผู้ดูแลเด็กเป็นผู้ตอบ เสมือนเป็นผู้แทนของเด็ก โดยใช้แบบสอบถามแบบให้ผู้ตอบกรอกด้วยตนเอง ซึ่งพัฒนามาจากฉบับใช้เพื่อสัมภาษณ์ คำถามในแบบสอบถามประกอบด้วย ส่วนของเด็กและส่วนของครอบครัว โดยสอบถามถึงความถี่ที่เคยมีประสบการณ์หรือรับรู้ผลกระทบทางลบที่เกิดกับตัวเด็กและสมาชิกในครอบครัว และนำมาคิดเทียบเป็นคะแนน (สูงสุดได้ถึง 52) และทำการตรวจสุขภาพช่องปากของเด็ก ผลการศึกษาและอภิปรายผล คู่เด็กและพ่อแม่หรือผู้ดูแล จำนวน 1,053 คู่ เข้าร่วมการศึกษา ร้อยละ 52.9 ของพ่อแม่หรือผู้ดูแลรายงานผลกระทบทางลบต่อคุณภาพชีวิตอย่างน้อยหนึ่งข้อ โดยผลกระทบที่เห็นชัดชัดเจนที่สุดคือความเจ็บปวดและไม่สุขสบายของเด็ก การมีฟันผุเป็นรู ผุลึกถึงเนื้อเยื่อในโพรงฟัน มีประสบการณ์การอุดหรือถอนฟันก่อเกิดผลกระทบทางลบต่อคุณภาพชีวิตของเด็กและครอบครัว สรุป ประมาณครึ่งหนึ่งของเด็กไทยก่อนวัยเรียนและครอบครัวได้รับผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตจากสุขภาพช่องปากไม่ดี การที่มีฟันผุลุกลามและการรักษาทางทันตกรรมth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectสุขภาพช่องปากth_TH
dc.subjectทันตสุขภาพth_TH
dc.subjectอนามัยช่องปากth_TH
dc.subjectสุขภาพช่องปากในเด็กth_TH
dc.subjectทันตสาธารณสุขth_TH
dc.subjectOral Healthth_TH
dc.subjectDental Healthth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยth_TH
dc.title.alternativeOral Health-Related Quality of Life in Preschoolersth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeIntroduction Early childhood caries (ECC) in Thai preschoolers remains prevalent, even with continuous intervention. The impacts of ECC have been assessed only symptom and function aspect. This is the first study on the oral health-related quality of life (OHRQoL) in a representative population of Thai preschoolers and their families measured by Thai version of The Early Childhood Oral Health Impact Scale (Th-ECOHIS). 2) Objectives To assess OHRQoL of Thai preschool children measured by Th-ECOHIS. 3) Methodology OHRQoL was measured by proxy report of parents/caregivers of 3-5-year-old children around Thailand using self-administered Th-ECOHIS developed from an interview version. ECOHIS questions comprised child and family impact sections, frequency of negative impacts which were converted to scores. Children’s dental status was examined. 4) Result and Discussion 1,053 childrenparents/caregivers dyads participated. 52.90% of parents/caregivers reported a negative impact on OHRQoL for at least one item (ECOHIS > 0). The most pronounced impacts were the child’s pain and discomfort. Dentinal caries, caries exposed pulp, tooth extraction and filling have negative impact on children and family OHRQoL. 5) Conclusions Around half of Thai preschool age children received adverse impact on quality of life from poor oral health problem including progressive dental caries and dental treatment.th_TH
dc.identifier.contactno65-147
.custom.citationภัทรวดี ลีลาทวีวุฒิ, Pattarawadee Leelataweewud, วรางคณา จิรรัตนโสภา, Varangkanar Jirarattanasopha, วลันยา สากลวารี, Walanya Sakolwaree, วิไล อริยะวุฒิกุล, Wilai Ariyavutikul, นพวรรณ โพชนุกูล, Noppawan Pochanukul, กรกมล นิยมศิลป์ and Kornkamol Niyomsilp. "คุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย." 2568. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6243">http://hdl.handle.net/11228/6243</a>.
.custom.total_download4
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year4
.custom.downloaded_fiscal_year4

ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hs3248.pdf
ขนาด: 859.6Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย