Now showing items 41-60 of 67

    • การเพิ่มสิทธิประโยชน์การรักษาผู้ป่วยโรค HAE (Hereditary Angioedema) ที่เกิดจากความผิดปกติของเอนไซม์ C1 esterase inhibitor: C1-INH 

      สุรศักดิ์ เสาแก้ว; Surasak Saokaew; พจมาน พิศาลประภา; Pochamana Phisalprapa; กิรติ เก่งกล้า; Kirati Kengkla; สุกฤษฏิ์ กาญจนสุระกิจ; Sukrit Kanchanasurakit; ชญานิศ โฆสิตะมงคล; Chayanis Kositamongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      โรค Hereditary angioedema (HAE) เป็นโรคทางพันธุกรรมหายากที่คุกคามชีวิตผู้ป่วย โรคนี้สามารถนำไปสู่การเกิดอาการกำเริบเฉียบพลัน โดยมีอาการบวมอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นในบริเวณต่างๆ เช่น ใบหน้า ทางเดินอาหารและกล่องเสียง ...
    • การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อ ลด ละ เลิก การใช้ยาปฏิชีวนะผิดๆ ในชุมชน ปี พ.ศ. 2555 

      สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย); มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเภสัชศาสตร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      ปัญหาการเรียกหายาปฏิชีวนะอย่างผิดเป็นปัญหาซึ่งหน้าของเภสัชกรร้านยา ที่มุ่งมั่นในการแก้ปัญหาสุขภาพนี้ด้วยความนุ่มนวลและอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดการความรู้/ความเชื่อที่สุจริต ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ยาที่ ...
    • การใช้ยาฟาวิพิราเวียร์เทียบกับการรักษาแบบประคับประคองในผู้ป่วยโควิด 19 ที่มีอาการไม่หนักและยังไม่มีภาวะปอดอักเสบ 

      รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit; ยุพิน ศุพุทธมงคล; Yupin Suputtamongkol; ยงค์ รงค์รุ่งเรือง; Yong Rongrungruang; เมธี ชยะกุลคีรี; Methee Chayakulkeeree; ณสิกาญจน์ อังคเศกวินัย; Nasikarn Angkasekwinai; โกวิท พัฒนาปัญญาสัตย์; Kovit Pattanapanyasat; จตุรงค์ เสวตานนท์; Jaturong Sewatanon; สุวิมล นิยมในธรรม; Suvimol Niyomnaitham; สุสัณห์ อาศนะเสน; Susan Assanasen; กษมา สุขาภิรมย์; Kasama Sukapirom; มาโนช รัตนสมปัตติกุล; Manoch Rattanasompattikul; กนก วงศ์สวัสดิ์; Kanok Wongsawad; วีรวัฒน์ มโนสุทธิ; Weerawat Manosuthi; ลัลธริตา เจริญพงษ์; Lantharita Charoenpong; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; Nuanjun Wichukchinda; อิงอร ประสารชัยมนตรี; Ing-orn Prasanchaimontri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      ยาฟาวิพิราเวียร์ เป็นยาต้านที่มีกลไกออกฤทธิ์ด้วยการยับยั้งเอนไซม์ RNA-dependent RNA polymerase และน่าจะมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อโควิด-19 ได้ เนื่องด้วยในสถานการณ์การระบาดของเชื้อมีความเป็นไปได้ว่าจะพบผู้ติดเชื้อมากขึ้นเรื่อยๆ ...
    • การใช้ยาในผู้สูงอายุไทยเขตภาคเหนือตอนล่างประเทศไทย 

      ชื่นจิตร กองแก้ว; Chuenjid Kongkaew (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-12)
      การศึกษาปัญหาการใช้ยาในประชากรสูงอายุอย่างเป็นระบบในประเทศไทยเพื่อสะท้อนภาพของปัญหาการใช้ยาในชุมชน และนำไปสู่การพัฒนากรอบนโยบายด้านยารวมทั้งการจัดสรรทรัพยากรสำหรับการแก้ไขปัญหาการใช้ยาในกลุ่มประชากรสูงอายุของประเทศเป็นเรื่องจำเป็น ...
    • ความตระหนักรู้เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในบุคลากรทางการแพทย์ 

      กมลนัทธ์ ม่วงยิ้ม; วิบูลย์ วัฒนนามกุล; อารีรัตน์ บากาสะแต; จำปี วงศ์นาค; ยลฤดี ตัณฑสิทธิ์; สุกัณฑา หมวดทอง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      งานวิจัยนี้ศึกษาถึงความตระหนักรู้เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของบุคลากรทางการแพทย์ รวมไปถึง สืบค้นหาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตระหนักรู้เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของบุคลากรทางการแพทย์ อันจะเป็นปัจจัยนำเข้าที่สำคัญในการหา ...
    • ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มารับการรักษาที่คลินิกโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลชุมชน: การวิจัยเชิงคุณภาพ 

      ปิ่นหทัย ศุภเมธาพร; Pinhatai Supametaporn; ชื่นจิตร กองแก้ว; Chuenjid Kongkaew; ศศิมาภรณ์ แหยงกระโทก; Sasimaporn Yaengkratok (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญ ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง ทางเดินหายใจเรื้อรังและเบาหวาน ซึ่งเป็นสาเหตุการป่วยและการตายที่สำคัญของประชากรทั่วโลกและประเทศไทย ซึ่งการรักษาและการควบคุมโรค จำเป็นต้องได้รับความร่วมมือใน ...
    • ค่าใช้จ่ายและการใช้ยาของผู้ป่วยที่รับการรักษาจากโรงพยาบาล : ผลกระทบของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; Suraphon Limwatananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Chulaporn Limwattananon; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การประเมินผลกระทบของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต่อค่าใช้จ่ายและลักษณะการใช้ของ 9 กลุ่มยาในการวิจัยนี้ อาศัยการวิเคราะห์แบบทุติยภูมิสำหรับฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้านการสั่งใช้ยาแก่ผู้ป่วยนอกระหว่างปีงบประมาณ 2543-2545 ...
    • ตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประเทศไทย 

      เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; ศิริขวัญ บริหาร; วีระศักดิ์ พุทธาศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      การใช้ยาไม่สมเหตุผลเป็นปัญหาสำคัญของประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ยาเกินความจำเป็น การใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่คำนึงถึงเชื้อดื้อยา การใช้ยาราคาแพงนอกบัญชียาหลัก การใช้ยาที่มีความเสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัย การใช้ยาโดยบุคลากรทางการแ ...
    • ต้นทุน-ประสิทธิผลของการให้บริการยาละลายลิ่มเลือด ในโรงพยาบาลชุมชน 

      สุรศักดิ์ เสาแก้ว; Surasak Saokaew; ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; Piya Hanvoravongchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิดเอสทียก (ST segment elevation myocardial infarction: STEMI) เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญ การเปิดหลอดเลือดหัวใจให้เร็วที่สุดโดยการขยายหลอดเลือดหัวใจจึงช่วยลดอัตราการเสียชีวิตได้ แต่ในบริบทที่ ...
    • ทบทวนสภาพปัญหาและการวิจัยเกี่ยวกับระบบยาของประเทศไทย : เอกสารประกอบการประชุมระดมสมองจัดทำแผนงานศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบยา 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sriphan Tantiwet; กระทรวงสาธารณสุข. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์; Misnistry of Public Health. Bureau of Health Policy and Strategy (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ระบบยามีองค์ประกอบย่อยอันได้แก่ องค์กร บุคคล กระบวนการ และการดําเนินกิจกรรมที่มีความหลากหลายและซับซ้อน นอกจากนี้ระบบยายังมีความสัมพันธ์กับปัจจัยทั้งภายในและภายนอกระบบสุขภาพในหลายลักษณะ ดังนั้น การพัฒนาระบบยาจึงจําเป็นต้อ ...
    • ธรรมชาติของปัญหาความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยไทยที่มีโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามขั้นตอนการจัดการการใช้ยาด้วยตนเอง 

      ชื่นจิตร กองแก้ว; Chuenjid Kongkaew; ศศิมาภรณ์ แหยงกระโทก; Sasimaporn Yaengkratok (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      วัตถุประสงค์ : (1) เพื่อศึกษาปัจจัยของความไม่ร่วมมือในการรักษาด้วยยาในผู้ป่วยสูงอายุ โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มารับการรักษาในสถานะผู้ป่วยนอก (2) เพื่อประเมินมูลค่าของยาเหลือใช้ซึ่งเกิดจากความไม่ร่วมมือในการรักษาด้วยยาในผู้ ...
    • ประสิทธิภาพของการรักษาด้วยการใช้ยาและไม่ใช้ยาในโรคสมองเสื่อมอัลไซเมอร์: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์อภิมานเครือข่าย 

      จิตติมา บุญเกิด; Chitima Boongird; อัมรินทร์ ทักขิณเสถียร; Ammarin Thakkinstian; วันนิษา วงษ์พิพัฒน์พงษ์; Wannisa Wongpipathpong; วรพงษ์ เธียรอุกฤษฏ์; Worapong Tearneukit; ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-04)
      โรคอัลไซเมอร์เป็นสาเหตุที่สำคัญของโรคสมองเสื่อมในปัจจุบันที่กำลังเพิ่มขึ้นทั่วโลก แนวทางการรักษาโรคสมองเสื่อมอัลไซเมอร์ในปัจจุบันประกอบด้วย การรักษาด้วยการใช้ยาและไม่ใช้ยา ซึ่งมีงานวิจัยที่ศึกษาเป็นจำนวนมากเกี่ยวกับการรั ...
    • ผลของระบบการประเมินการใช้ยา ต่อการใช้เซฟาโลสปอริน รุ่นที่ 3 ในโรงพยาบาลขอนแก่น 

      นิ่มนวล มัยคุณอุปถัมภ์; Nimnuan Maikunaupathum; บัญญัติ สิทธิธัญกิจ; จินตนา ตั้งสิชฌนกุล; ฌรงค์ เดชชัยวัฒนา; อุดม อรุณรุ่งศรี; ชุติมา ชัยพิสุทธิสกุล; เสาวลักษณ์ ตั้งตระกูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      ผลของระบบประเมินการใช้ยาต่อการใช้เซฟาโลสปอริน รุ่นที่ 3 ในโรงพยาบาลขอนแก่น หลักการและเหตุผล มูลค่าการใช้ยาเซฟาโลสปอริน รุ่นที่ 3 อันประกอบด้วย ceftriaxone, cefotaxime และ ceftazidime ของโรงพยาบาลขอนแก่นมีปริมาณการใช้ที่สูง ...
    • ผลของเภสัชพันธุศาสตร์ต่อระดับยาและผลข้างเคียงของยาต้านไวรัสเอชไอวีตัวใหม่ ในผู้ใหญ่ที่ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี-1 

      อัญชลี อวิหิงสานนท์; Anchalee Avihingsanon; ปาจรีย์ จริยวิลาศกุล (ลิลิตการตกุล); Pajaree Chariyavilaskul Lilitkarntakul; บราลี ปัญญาวุธโธ; Baralee Punyawudho; ศิวะพร เกตุจุมพล; Sivaporn Gatechompol; ธรณ์ธันย์ เอื้อพงศ์สุขกิจ; Thornthun Ueaphongsukkit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ถึงแม้ประเทศไทยจะจัดการปัญหาเอชไอวีได้ดี และมียาต้านอยู่ใน Universal Access Program ตั้งแต่ปี 2008 มีการเริ่มยาต้าน Any CD4 count ตั้งแต่ปี 2014 และ same day ART (antiretroviral therapy, ART)/rapid ART ตั้งแต่ปี 2022 ...
    • ผลลัพธ์ต่อพฤติกรรมการสั่งยาและผู้ป่วยจากการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; เชิดชัย สุนทรภาส; Cheardchai Soontornpas; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit; รัชฎาพร สุนทรภาส; Ratchadaporn Soontornpas; เบญจพร ศิลารักษ์; Benjaporn Silaruks; รัชตะ อุลมาน; Ratchata Unlamarn; ภคอร อุลมาน; Phakaon Unlamarn; นรภัทร จิตไธสง; Norapat Jitthaisong; ธิติ ทุมเสน; Thiti Tumsen; พิมพ์ประภา กิจวิธี; Pimprapa Kitwitee; จาติกา รัตนดาดาษ; Jatica Ratanadadas (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03)
      งานวิจัยนี้ประเมินผลการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล (นโยบาย RDU Hospital/RDU Service Plan) โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์ที่เกิดจากนโยบาย อาศัยการวิเคราะห์ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ขนาดใหญ่ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มของตั ...
    • พฤติกรรมการใช้ยาในผู้สูงอายุไทย 

      อุไรวรรณ ชัยชนะวิโรจน์; Uraiwan Chaichanawirote; นิรนาท วิทยโชคกิติคุณ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-10)
      พฤติกรรมการใช้ยาที่ไม่เหมาะสมของผู้สูงอายุเป็นสาเหตุหนึ่งของปัญหาการใช้ยา ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพที่ทำให้ผู้สูงอายุต้องเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ยา ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ...
    • มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 

      รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; Rungphech Sakulbamrungsil (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
      มูลค่าการบริโภคยา (National Drug Consumption) ของประเทศไทยเป็นข้อมูลสำคัญที่จะช่วยสะท้อนระบบยาและระบบสุขภาพของแต่ละประเทศได้เป็นอย่างดี ดังนั้น ในการจัดทำบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ (National Health Account- NHA) ...
    • ระบบยาในจังหวัดสงขลา 

      สุรฉัตร ง้อสุรเชษฐ์; Surachat Ngorsuraches; ณรงค์ศักดิ์ สิงห์ไพบูลย์พร; อรรถพล ศรเลิศล้ำวาณิช; ยูซูฟ นิมะ; Narongsak Singhpaiboonporn; Attaporn Sornlertlumvanich; U-soop Nima (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      โครงการศึกษาระบบยาในจังหวัดสงขลานี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาหาปัญหาในระบบยาของโรงพยาบาลในจังหวัด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่มีขอบเขตกว้างในระบบยา ทั้งในแง่ของมูลค่าและปริมาณของยาในระบบ ในการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับระบบยานั้นจะอ ...
    • ระบบเฝ้าระวังอัตโนมัติในการประเมิน ติดตาม ป้องกัน และแสดงแนวทางการบริหารจัดการเมื่อเกิดภาวะการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อจากการรั่วของยาหรือสารน้ำในระหว่างการให้ยาหรือสารน้ำชนิดยานอร์ริพิเอฟฟรินจากภาพถ่ายผิวหนังโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียมเชิงลึกในรูปแบบแอปพลิเคชันบนสมาร์ตโฟน 

      จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต; Charturong Tantibundhit; ฐิติพร ปฐมจารุวัฒน์; Thitiporn Pathomjaruwat; บวรลักษณ์ ทองทวี; Borwarnluck Thongthawee; พัดชา พงษ์เจริญ; Padcha Pongcharoen; ดุษฎี สกลยา; Dudsadi Sakonlaya; ปรารถนา สิทธิวัฒนาวงศ์; Pradtana Sitthiwatthanawong; สินี เวศย์ชวลิต; Sinee Wetchawalit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อจากการรั่วของยา คือ ภาวะที่ยาที่มีฤทธิ์ในการทำลายเนื้อเยื่อรั่วซึมออกนอกหลอดเลือดในระหว่างการให้ยาทางหลอดเลือดดำ ส่งผลอันตรายต่อเนื้อเยื่อบริเวณโดยรอบที่ให้ยาทางหลอดเลือดดำ และอาจลุกลามถึงเส้นประสาท ...
    • สถานการณ์การใช้ยาไทยและยาจากสมุนไพรในระบบข้อมูล 18 แฟ้มของสถานีอนามัยทั่วประเทศ 

      รัชนี จันทร์เกษ; วิชัย จันทร์กิติวัฒน์; ประพจน์ เภตรากาศ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2552)
      วัตถุประสงค์ 1. ศึกษา วิเคราะห์และสังเคราะห์ ภาพรวมของการใช้ยาไทยและยาสมุนไพรในระดับสถานีอนามัย จากฐานข้อมูลระบบข้อมูลผู้ป่วยรายบุคคล (Individual Medical Record) ของประชาชนในพื้นที่ที่รับผิดชอบของสถานีอนามัย ในรูปแบบขอ ...