Now showing items 41-60 of 87

    • การสำรวจสถานะสุขภาพและสภาพการใช้ยาของประชาชนในชุมชน 

      Wuntipong Satawongtip; วุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์; อุษาวดี มาลีวงศ์; ปิลันธนา สัจจวาที; ธนารัตน์ เกียรติสกล; ไพบูลย์ อัศวธนบดี; สุทธิรัตน์ บุษดี; Ausawadee Maleewaong; Pisantana Sachawktee; Tanarat Kiasakol; Paiboon Asawatanabodee; Suteerat Busadee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษาเรื่องการสำรวจสถานะสุขภาพและสภาพการใช้ยาของประชาชนในชุมชนเป็นงานวิจัยหนึ่งในชุดวิจัยเกี่ยวกับบทบาทร้านยากับโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาทรักษาทุกโรค เมื่อรัฐบาลประกาศนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและเริ่มโครงการ ...
    • การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (Strategic Route Map)ในการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระดับจังหวัด 

      มูลนิธิแสงสิทธิการ (เพื่อคุณภาพชีวิต) (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-12)
      กิจกรรมหลักตามโครงการส่งเสริมฯ ที่ได้ดำเนินการและประสบผลสำเร็จเป็นอย่างดี คือ การเสริมสร้างทักษะบุคลากร ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(Strategic Route Map:SRM) ทั้ง 7 ขั้นตอน มาปรับประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหาร ...
    • การสํารวจความคิดเห็น ด้วย Real Time Delphi 

      นเรศ ดํารงชัย; ปวรภัส โพธิสุข; จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2551-10)
      ในการสร้างหลักประกันสุขภาพของประเทศไทยเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการบริการสุขภาพ มีวิวัฒนาการมาโดยลําดับ ซึ่งพบว่ามีทั้งความสําเร็จ ความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคที่กล่าวถึงในวงกว้างทั้งในแวดวงวิชาการและแวดวงประชาคม หลายประเด็นม ...
    • การหมุนเวียนของบุคลากรที่ให้บริการในสถานพยาบาลภาครัฐ : รายงานวิจัย เล่มที่ 5 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการหมุนเวียนของบุคลากรในระบบบริการโดยเน้นในส่วนของภาครัฐบาลรวมทั้งประเด็นเรื่องการลาออกจากราชการของแพทย์ การศึกษาครอบคลุมบุคลากรสี่กลุ่มคือ แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร และพยาบาล ...
    • การเงินการคลังบริการสุขภาพช่องปากในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การศึกษานี้ประกอบด้วย การวิเคราะห์ข้อมูลรายจ่ายบริการสุขภาพช่องปาก จากรายจ่ายภาครัฐและสวัสดิการต่างๆ ร่วมกับรายจ่ายภาคครัวเรือน โดยใช้การวิเคราะห์รายจ่ายภาครัฐและสวัสดิการต่างๆ 2 วิธี วิธีแรกคือ วิเคราะห์จากข้อมูลรายจ่าย ...
    • การเงินสาธารณสุขด้านการรักษาพยาบาลสำหรับผู้มีรายได้น้อย 

      ชุติมา สุรรัตน์เดชา; Chutima Suraratdecha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      การเงินสาธารณสุขด้านการรักษาพยาบาลสำหรับผู้มีรายได้น้อย งานวิจัยนี้ได้ศึกษานโยบายสาธารณสุขด้านการรักษาพยาบาลแก่ผู้มีรายได้น้อยด้านการเงินสาธารณสุขในส่วนของงบประมาณและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง ประเมินความพอใจและทัศนคติของผู ...
    • การเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางด้านการจัดการกับการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ในโครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : กรณีศึกษา จังหวัดในเขต 6 

      เกรียงศักดิ์ เอกพงษ์; Kriengsak Ekapong; ปรีดา โนวฤทธิ์; วรางคณา อินทโลหิต; พิทยา ศรีกุลวงศ์; วรรณวดี ศิริจันทร์; วิไลวรรณ เทียมประชา; Preda Nowrith; Warangkana Inthalohith; Pithapya Srikulwong; Wanwadee Sirrijan; Wilanwan Taimpracha (Health Systems Research Institute, 2546)
      การวิจัยแบบภาคตัดขวางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางด้านการจัดการ ได้แก่ การจัดการงบประมาณ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ เวชภัณฑ์ และด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพ ...
    • การแถลงข่าวเรื่องทางสว่างของผู้ประสบเหตุจราจร 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      จากประกาศใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 ซึ่งจากการนำพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถไปใช้มีข้อคำถาม ข้อสงสัยและการบังคับใช้ทางด้านกฎหมาย แถลงข่าว เรื่อง “ทางสว่างของผู้ประสบเหตุจราจร” ในวันพุธที่ ...
    • ข้อเสนอระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์ (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2548-12)
      เพื่อศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์และโอกาสพัฒนาในระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศอย่างรอบด้าน เพื่อจัดทำข้อเสนอทางวิชาการเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพของประเทศ ให้เป็นแนวทางเพื่อให้เกิดการผลักดันการเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงหลักประกั ...
    • ข้อเสนอหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : รายงานการศึกษาประกอบการปฏิรูประบบสุขภาพและการร่างพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.... 

      อัมมาร สยามวาลา; Ammar Siamwalla; สุชาติ สรณสถาพร; สงวน นิตยารัมภ์พงศ์; ดาว มงคลสมัย; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; คณะทํางานพัฒนานโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      เอกสารงานวิจัยชิ้นนี้เป็นผลผลิตจากความเพียรพยายามและสติปัญญาของนักวิชาการ และนักกิจกรรมเคลื่อนไหวทางสุขภาพกลุ่มหนึ่ง ที่ได้ร่วมกันศึกษาวิเคราะห์ปัญหาการจัดบริการและการคลังสุขภาพของประเทศไทยที่ผ่านมา ทบทวนทางเลือกและกลวิธ ...
    • ความคาดหวัง การใช้บริการด้านสุขภาพ และผลกระทบของการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : มุมมองของประชาชน : รายงานวิจัยเล่มที่3 

      อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบในระยะแรกของการจัดให้มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (และโครงการ “30 บาทรักษาทุกโรค”) ที่มีต่อประชาชน จากมุมมองของประชาชนเอง โดยคำนึงถึงพฤติกรรมการเลือกวิธีรักษาพยาบาลและการเลือก ...
    • ความต้องการด้านสารสนเทศของประชาชนในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้ระบบระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      เอนกพล เกื้อมา; Anagpon Kuama; ศิริเชษฐ์ สังขะมาน; สุรางค์รัตน์ จำเนียรพล; อุ่นเรือน ทองอยู่สุข; Sirichet Sangkaman; Surangrut Jumnianpol; Unruan Thogyoosook (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการด้านสารสนเทศของประชาชนในการสร้างเสริมและการป้องกันโรค 2) ศึกษาช่องทางการเข้าถึงสารสนเทศของประชาชนต่อการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค และ 3) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อควา ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพ : การประเมินระดับครัวเรือน 

      Suphasit Panarunothai; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; วิรัชดา สุทธยาคม; พิชญ์ รอดแสวง; Dirak Phatamasiriwat; Sukanya Khongsawat; Sumrit Sritamrongsawat; Wiratda Sutayakhom; Phi Rodsawaeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายสำคัญอย่างหนึ่งที่องค์การอนามัยโลกเสนอแนะแก่รัฐบาลทั้งประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนา ประเทศไทยดำเนินนโยบายนี้ทั่วประเทศอย่างรวดเร็วฉับไวเพียงหนึ่งปีหลังจากรัฐบาลใหม่ได้ชัยชนะเสียงข้างมากจากการ ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพระดับครัวเรือน : การสำรวจครัวเรือนรอบที่ 2 และการตรวจร่างกายครั้งที่ 1 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; Direk Patamasiriwat; Sukalaya Kongsawatt (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต้องการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมไม่เป็นอุปสรรคกีดขวาง การศึกษาครั้งนี้เพื่อประเมินผลของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปี 2546 โดยการสำรว ...
    • ความเป็นไปได้ของแหล่งเงินต่างๆ ตามมาตรา 39 ในพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ในทัศนะของผู้สันทัดกรณี 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Chitpranee Vasavid; Kanjana Tisayaticom; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      แหล่งการเงินของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในขณะนี้มาจากการจัดทำคำขอจากเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีของรัฐบาลโดยเลือกใช้การจัดทำงบประมาณปลายปิดด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวคูณกับจำนวนประชากรที่ขึ้นทะเบียน จากประสบการณ์ที่ผ่านมา ...
    • ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ภายใต้สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ พ.ศ.2540 

      จงกล เลิศเธียรดำรง; Jongkol Lertiendumrong; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ภายใต้สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ พ.ศ.2540การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลค่ารักษาพยาบาลของผู้ป่วยภายใต้สวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการซึ่งคุ้มครองข้าราชการ, ลูกจ้างประจำ ...
    • ค่าใช้จ่ายและการใช้ยาของผู้ป่วยที่รับการรักษาจากโรงพยาบาล : ผลกระทบของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; Suraphon Limwatananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Chulaporn Limwattananon; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การประเมินผลกระทบของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต่อค่าใช้จ่ายและลักษณะการใช้ของ 9 กลุ่มยาในการวิจัยนี้ อาศัยการวิเคราะห์แบบทุติยภูมิสำหรับฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้านการสั่งใช้ยาแก่ผู้ป่วยนอกระหว่างปีงบประมาณ 2543-2545 ...
    • จากนโยบายสู่การปฏิบัติ : หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย พ.ศ. 2544-2547 

      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      จากนโยบายสู่การปฏิบัติ : หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย พ.ศ. 2544-2547 ประกอบด้วย 7 บท ได้แก่ บทที่ 1. กระบวนการกําหนดนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า บทนี้จะวิเคราะห์กระบวนการกําหนดนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Agenda ...
    • ดัชนีชี้วัดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Wirot Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย; Thailand Development Research Institute Foundation (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)
      วัตถุประสงค์หลักของรายงานนี้คือ พยายามวิเคราะห์ถึงแนวคิดเรื่องความเป็นธรรมด้านสุขภาพ และดัชนีชี้วัดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ โดยพยายามลงไปถึงด้านปรัชญา แนวคิด การตีความและข้อจำกัดของดัชนีเหล่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งดัชนีที่ม ...
    • ดัชนีชี้วัดเพื่อการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพประชาชนไทย 

      สรพงษ์ วิชกูล; Sorapong Wichakul (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)
      เพื่อจัดทำตัวชี้วัดทางสุขภาพในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน และความสำเร็จในระบบหลักประกันสุขภาพทั้ง 3 ระบบ (ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการและครอบครัว และระบบประกันสังคม) จากฐานข้อมูลผู้ป่วยใน ...