Now showing items 1665-1684 of 2427

    • นวัตกรรมสังคม : การให้ความหมายและลักษณะกิจกรรมในประเทศไทย 

      ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา; Chuenruthai Kanchanachitra; วาสนา อิ่มเอม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การศึกษาครั้งนี้ได้ข้อมูลจากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องในประเทศไทย การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ และการดูงาน ให้ความหมายว่า นวัตกรรมสังคม คือ “สิ่งใหม่ๆ ทั้งที่เป็นกระบวนการทางความคิด (จินตนาการ) หรือการสร้างโอกาส หรือการลงมือปฏิบัติ ...
    • นำการเงินการคลังหนุนการจัดการความรู้สู่สุขภาพวิถีไท 

      นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์; กมลนัทธ์ ม่วงยิ้ม; Pattapong Kessomboon; Kamolnut Muangyim (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2549)
      ประเทศไทยมีความพร้อมหรือทุนด้านการแพทย์แผนไทยอยู่มาก นับเป็นหนึ่งในทรัพยากรที่มีคุณค่า เรามีเครือข่ายวิสาหกิจการผลิตสมุนไพรถึงประมาณ 2,500 แห่ง เรามีความหลากหลายของสายพันธุ์ที่มีคุณค่าต่อการผลิตถึง 140,000 ชนิด ...
    • นำร่องการวิจัยสำหรับจีโนมิกส์ประเทศไทย: การศึกษาข้อมูลรหัสพันธุกรรมของผู้ป่วยมะเร็งชาวไทย 

      มานพ พิทักษ์ภากร; Manop Pithukpakorn; ชนพ ช่วงโชติ; Shanop Shuangshoti; ชินโชติ ธีรภัคภิญโญ; Chinachote Teerapakpinyo; นุสรา สัตย์เพริศพราย; Nusara Satproedprai; วสันต์ จันทราทิตย์; Wasun Chantratita; จันทนา ผลประเสริฐ; Chantana Polprasert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของประชากรไทย โดยมะเร็งเกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมของเซลล์ การกลายพันธุ์ของยีนก่อมะเร็งที่พบสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด อันได้แก่ การกลายพันธุ์ที่เกิดขึ้นเองในเนื้อเยื่อปกติ (somatic ...
    • นโยบายการขึ้นทะเบียนตำรับยาของประเทศไทย : พัฒนาการและการดำเนินงาน 

      นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี; Niyada Kiatying-Angsulee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเติมช่องว่างของความรู้เรื่องนโยบายขึ้นทะเบียนตำรับยาในประเทศไทย โดยใช้หลายวิธีการของงานวิจัยทางสุขภาพ และการวิเคราะห์นโยบายมาอธิบายร่วมกับการค้นคว้าทางเทคนิคด้านเภสัชกรรมและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ...
    • นโยบายการพัฒนาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือกในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; Komatra Chuengsatiansup; ปารณัฐ สุขสุทธิ์; Paranat Suksut; ยงศักดิ์ ตันติปิฎก; Yongsak Thantiphidok; มณฑาวดี ครุธมีชัย; กุลพล คุปรัตน์ (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2557)
      การประเมินนี้ประกอบด้วยวิธีการศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิง นโยบายด้านการส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ ทางเลือก ให้เข้าสู่ประชาคมอาเซียนได้อย่างสอดคล้องกับส ...
    • นโยบายของประเทศไทยเรื่องสิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุกรรม 

      สุรวิช วรรณไกรโรจน์; Suwit Wanakairot (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      สิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุกรรมมีศักยภาพในการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศ แต่การตอบรับสินค้ากลุ่มนี้ในตลาดโลกมีจำกัด การวิเคราะห์ด้านทรัพย์สินทางปัญญาด้านความเสี่ยงต่อระบบนิเวศ ด้านองค์กรและกฎระเบียบ และด้านเศรษฐศาสตร์ ...
    • นโยบายน้ำ : การจัดการคนกับน้ำยุคปฏิรูป (สรุปผลประชุมเชิงปฎิบัติการ) 

      เครือข่ายสาขานโยบายการจัดการทรัพยากรน้ำ. แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณสุขเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ; เครือข่ายสาขานโยบายการจัดการทรัพยากรน้ำ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      เครือข่ายสาขานโยบายการจัดการทรัพยากรน้ำ แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในปี พ.ศ. 2546 ได้ดำเนินการรวบรวมข้อปัญหา ข้อกังวล เกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ำ ...
    • นโยบายสาธารณะ ผลกระทบต่อสุขภาพ : กรณีศึกษาโครงการโขง-ชี-มูล 

      อุไรวรรณ อินทร์ม่วง; Uraiwan Inmuang; สรัญญา โพธิ์ทอง; สมพร อุดมวินิจศิลป์; Sarunya Pothong; Somporn Udomwinisil (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      “นโยบายสาธารณะ ผลกระทบตjอสุขภาพ กรณีศึกษา โขง-ชี-มูล” เป็นอีกกรณีตัวอย่างหนึ่งที่ชุมชนได้รับผลกระทบทางสุขภาพอันเกิดจากการพัฒนาโครงการของภาครัฐ ซึ่งที่ผ่านมาได้มีการศึกษาถึงผลกระทบของโครงการในหลายด้านจากหลายๆ องค์กร ...
    • นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ 

      ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์; Pattapong Kessomboon; อนุพงศ์ สุจริยากุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
    • นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ : การวิเคราะห์ระบบ การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ 

      เดชรัต สุขกำเนิด; Decharut Sukkumnoed (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การวิเคราะห์ระบบการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากโครงการลงทุน/พัฒนาขนาดใหญ่ และนโยบายต่างๆ สุขภาพในปัจจุบันได้ถูกขยายความให้ครอบคลุมถึงมิติทั้ง 4 ของสุขภาพ โดยครอบคลุมในเรื่องของสุขภาพทางกาย สุขภาพทางจิต สุขภาพทางสังคม ...
    • นโยบายและกฎหมายของรัฐที่เกี่ยวข้องกับคนพิการ: บทวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์และความคิดทางสังคมการเมือง พ.ศ.2475-2553 

      อนรรฆ พิทักษ์ธานิน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554)
      วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. รวบรวมนโยบายรัฐ กฎหมาย และแผนงานเกี่ยวกับคนพิการ ที่ประกาศโดยรัฐไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2475-2553 2. วิเคราะห์และสังเคราะห์ให้เห็นความเปลี่ยนแปลงทางความคิดของรัฐไทยที่สะท้อนผ่านนโยบาย กฎหมายและแผ ...
    • นโยบายและกลไกทางกฎหมาย ศึกษาตัวอย่างกรณีปัญหายาบ้า : สาเหตุ การแก้ไข และนโยบายใหม่ 

      โกวิท วงศ์สุรวัฒน์; Kowit Wongsesurawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
    • นโยบายและยุทธศาสตร์ในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 

      ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ (โครงการจัดการองค์ความรู้เรื่องยาเสพติด, 2551-10)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนองค์ความรู้นโยบายและยุทธศาสตร์ในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2540-2550 โดยมีวิธีการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงเอกสารซึ่งประมวลองค์ความรู้และกรณีศึกษาเกี่ยวกับนโยบายและยุท ...
    • บทคัดย่อและบทสรุปสำหรับผู้บริหารของโครงการวิจัยเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
    • บทบาทของการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพในกระบวนการนโยบายสาธารณะ 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การพัฒนานโยบายและการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติในภาครัฐเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาในขณะที่ตัวแสดงจำนวนมากซึ่งมีผลประโยชน์ที่แตกต่างกันเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง ตัวแสดงเหล่านี้ทั้งที่เป็นปัจเจกบุคคลและองค์ก ...
    • บทบาทของร้านยากับงานควบคุมวัณโรค 

      มาลี โรจน์พิบูลสถิตย์; Malee Rotphiboonsatit; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      ชุดโครงการบทบาทของร้านยากับงานควบคุมวัณโรค ประกอบด้วย 2 โครงการย่อย ดังนี้ โครงการย่อยที่ 1: ความล่าช้าในการไปตรวจรับการรักษาและความล่าช้าในการตรวจวินิจฉัยของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ในจังหวัดสงขลา มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดคว ...
    • บทบาทของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ภายหลังการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปองค์การบริหารส่วนจังหวัด 

      รุ่งนภา จันทรา; Rungnapa Chantra; ทัศนีย์ เกริกกุลธร; Tassanee Krirkgulthorn; ธัญพร ชื่นกลิ่น; Thunyaporn Chuenktin; สุชาดา นิ้มวัฒนากุล; Suchada Nimwatanakul; อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; รวิวรรณ คำเงิน; Rawiwan Khamngoen; บุญประจักษ์ จันทร์วิน; Boonprajuk Junwin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      การถ่ายโอนภารกิจของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ส่งผลกระทบต่อบทบาทหน้าที่ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ (สสอ.) การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพ ...
    • บทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชนในการปฏิรูประบบสุขภาพ 

      บัณฑร อ่อนดำ; Banthorn Oundum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การศึกษาเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดและบทบาทเกี่ยวกับการปฏิรูประบบสุขภาพขององค์กรพัฒนาเอกชน โดยศึกษาเครือข่ายขององค์กรพัฒนาเอกชนที่ดำเนินกิจกรรมด้านการพัฒนาชุมชน พัฒนากลุ่มเป้าหมายเฉพาะหรือพัฒนาสังคมโดยส่วนรวม ...
    • บทบาทขององค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมปี 2544 

      วีระพงศ์ จินะดิษฐ; Weerapong Jinadit; สุชาติ คงระวะ; Suchart Kongrava (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ประเมินบทบาทขององค์การบริหารส่วนตำบลด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยการสำรวจสภาพปัญหา บทบาท ศักยภาพและอุปสรรค ด้านการจัดการมูลฝอย การจัดการประปาหมู่บ้านและการควบคุมโรคไข้เลือดออก ...
    • บทบาทขององค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)ต่อการพัฒนางานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จังหวัดพิจิตร 

      ณรงค์ สหเมธาพัฒน์; Narong Sahamaethapt; สุรเดช เดชคุ้มวงศ์; ดวงพร พูลสวัสดิ์กิติกูล; พิทักษ์ เอมสวัสดิ์; อุบลรัตน์ สวนเศรษฐ (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร, 2540)
      บทบาทขององค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)ต่อการพัฒนางานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จังหวัดพิจิตรการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโครงสร้างบุคลากรในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สถานะทางการเงิน ...